วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552

แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2551


แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2551
โดยสมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย
Thai Hypertension Society: Guidelines in the Treatment of Hypertension 2008
คำนิยาม
Hypertension (ความดันโลหิตสูง)

หมายถึงระดับความดันโลหิต 140/90 มม.ปรอท หรือมากกว่าซึ่งจะเป็นค่าบนหรือค่าล่างก็ได้
Isolated systolic hypertension

หมายถึงระดับความดันโลหิตตัวบน 140 มม.ปรอทหรือมากกว่า แต่ระดับความดันโลหิตตัวล่างต่ำกว่า 90 มม.ปรอท
สิ่งที่ต้องตรวจทางห้องปฏิบัติการ (รพ.ตำบล screen พบ HT ส่งพบแพทย์เริ่มยา)
ข้อแนะนำในการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ให้ตรวจเมื่อแรกพบผู้ป่วยและตรวจซ้ำปีละครั้ง หรืออาจส่งตรวจบ่อยขึ้นตามดุลยพินิจของแพทย์ หากพบความผิดปกติ
1. Fasting plasma glucose
2. Serum total cholesterol, HDL-C, LDL-C, triglyceride
3. Serum creatinine
4. Serum uric acid
5. Serum potassium (electrolye)
6. Estimated creatinine clearance

7. Hemoglobin และ hematocrit
8. Urinalysis (dipstick test และ urine sediment)
9. EKG

การใช้ยาลดความดันโลหิต
พิจารณาเริ่มใช้ยาลดความดันโลหิต ในการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทันที เมื่อผู้ป่วยถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเท่านั้น (แผนภูมิที่ 1)

เป้าหมายของการลดความดันโลหิต
1. ในผู้ป่วยทั่วไปให้ BP < size="4">ปรอท

ลักการใช้ยาลดความดันโลหิต
1. แพทย์สามารถเริ่มใช้ยาลดความดันโลหิตได้ทุกขนาน เนื่องจากผลดีเกิดจากการลดความดันโลหิตเป็นหลัก ยา 4 กลุ่มต่อไปนี้ เป็นยาที่นิยมใช้กันทั่วโลก และมีหลักฐานสนับสนุนถึงผลดีในระยะยาว
- Diuretics
- Calcium channel blockers (CCBs)
- Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACE-inhibitors)
- Angiotensin receptor blockers (ARBs)


ไม่แนะนำให้ใช้ยา alpha-blockers เป็นยาขนานแรก ยกเว้นในผู้ป่วยที่มีต่อมลูกหมากโตแต่สามารถใช้ยานี้ร่วมกับยาลดความดันโลหิตกลุ่มข้างต้นดังกล่าวได้

beta-blockers ก็เช่นเดียวกันจะใช้เป็นยาขนานแรก ก็ต่อเมื่อมีข้อบ่งชี้เท่านั้น เช่น post-myocardial infarction หรือพวกที่มี tachyarrhythmia เป็นต้น

ส่วนยาลดความดันโลหิตอื่นๆ ที่ยังใช้อยู่ เช่น methyldopa, clonidine, reserpine สามารถใช้ได้เนื่องจากราคาถูกมีประสิทธิภาพในการลดความดันโลหิตได้ดี แต่มีฤทธิ์ข้างเคียงค่อนข้างมาก และมีการศึกษาดูผลในระยะยาวน้อย

2. การจะเริ่มใช้ยากลุ่มใดก่อน ปัจจุบันไม่ค่อยมีปัญหาแล้ว เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะต้องใช้ยาตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ถึงเป้าหมาย และมีแนวโน้มจะเปลี่ยนไปใช้ยาที่เป็น fixed dose combination ในเม็ดเดียวกัน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถรับประทานยาได้ครบตามแพทย์สั่ง
3. ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความดันโลหิตเริ่มต้นสูงกว่าค่าปกติ > 20/10 มม.ปรอท ให้เริ่มใช้ยาลดความดันโลหิต 2 ขนานได้ทันที
4. กลุ่มยาที่สามารถเสริมฤทธิ์กันได้เมื่อใช้ร่วมกันดังรูป


หมายเหตุ ยา 5 กลุ่มที่นิยมใช้เป็นยาเริ่มต้นและใช้ได้ในระยะยาว (ในกรอบ) ยาที่นิยมใช้ควบกันและเสริมฤทธิ์กัน (เส้นทึบ) ยาที่ใช้ร่วมกันน้อยเพราะไม่เสริมฤทธิ์กัน (เส้นประ) CCBs เฉพาะกลุ่ม dihydropyridine เท่านั้นที่ใช้ควบกับ b-blockers ได้
5. ยาบางกลุ่มมีผลการศึกษาที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่าเป็นประโยชน์ในระยะยาวกับผู้ป่วยบางกลุ่ม
ในเรื่องของการลดอัตราการตายและทุพพลภาพ (ตารางที่ 4)


ตารางที่ 4 ยาลดความดันโลหิตที่มีข้อบ่งชี้ในการใช้ชัดเจน

หมายเหตุ ในกรณีที่ไม่สามารถใช้ยา ACE inhibitors ได้ให้ใช้ angiotensin receptor blockers แทน

5. กลุ่มของยาลดความดันโลหิตต่างๆ มีฤทธิ์ข้างเคียงจำเพาะและมากน้อยต่างกัน และมีข้อห้ามหรือข้อควรระวังต่างกัน ซึ่งแพทย์สามารถเลือกใช้ได้ (ตารางที่


ความถี่ในการติดตามผู้ป่วยจะขึ้นกับระดับความดันโลหิตที่วัดได้ตอนเริ่มแรก (ตารางที่ 6)

ตารางที่ 6 ระยะเวลาในการติดตามผู้ป่วยตามระดับความรุนแรงของความดันโลหิต


การปรับลดขนาดหรือจำนวนยา



จะกระทำได้ต่อเมื่อสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี โดยค่อยๆ ลดขนาดยาหรือถอนยาออกอย่างช้าๆ ซึ่งมักจะทำได้ในผู้ป่วยที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแล้ว บางรายอาจถอนยาได้หมด ซึ่งก็ควรติดตามผู้ป่วยนั้นต่อไปเนื่องจากความดันโลหิตอาจสูงขึ้นอีกในระยะเป็นเดือนหรือเป็นปีหลังหยุดยา โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ไม่สามารถคงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไว้

ข้อแนะนำในการทำให้ผู้ป่วยติดตามการรักษาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง



1. ให้สังเกตสิ่งบอกเหตุที่บ่งชี้ว่าผู้ป่วยจะไม่ติดตามการรักษาและรับประทานยาต่อเนื่อง
2. ตั้งเป้าหมายของการรักษา กล่าวคือลดระดับความดันโลหิตลงให้เป็นปกติ โดยให้เกิดฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์จากยาน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย
3. ติดต่อกับผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ โดยพิจารณาเยี่ยมบ้าน เป็นต้น
4. พยายามทำให้การดูแลผู้ป่วยไม่แพงและเรียบง่าย
5. ส่งเสริมการปรับพฤติกรรม
6. พยายามสอดแทรกการรับประทานยาเข้าไปในกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย
7. ให้พิจารณาใช้ชนิดของยาตามหลักเภสัชศาสตร์ ปัจจุบันนิยมให้ยาที่ออกฤทธิ์ยาว
8. ให้พิจารณาหยุดการรักษาที่ไม่ประสพผลสำเร็จและหาทางเลือกอื่น
9. ให้คำนึงถึงฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ของยา โดยปรับชนิดของยาและให้ยาที่จะป้องกันหรือก่อให้เกิดฤทธิ์ไม่พึงประสงค์น้อยที่สุด
10. ค่อยๆ เพิ่มขนาดยาที่มีประสิทธิภาพและไม่ก่อให้เกิดฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์จนได้ขนาดยาที่เพียงพอเพื่อให้ได้ระดับความดันโลหิตเป้าหมาย
11. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยและญาติมีทัศนคติที่ดีและความเข้าใจถูกต้องต่อการรักษาตลอดจนถึงความสำคัญที่จะต้องควบคุมให้ได้ถึงระดับความดันโลหิตเป้าหมาย
12. พิจารณาให้บุคลากรทางการแพทย์ที่ได้รับการฝึกอบรมอย่างดีแล้วมาช่วยในกระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วย

เอกสารอ้างอิง



1. World Health Organization, International Society of Hypertension Writing Group. 2003 World Health Organization (WHO)/International Society of Hypertension (ISH) statement on management of hypertension. J Hypertens 2003;21:1983-1992.
2. The Task Force for the Management of Arterial Hypertension of the European Society of Hypertension (ESH) and of the European Society of Cardiology (ESC). 2007 Guidelines for the Management of Arterial Hypertension. J Hypertens 2007;25:1105-1187.
3. The JNC 7 Report. The Seventh Report of the Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation and Treatment of High Blood Pressure. JAMA 2003;289:2560-2572.
4. Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation and Treatment of High Blood Pressure. The Sixth Report of the Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation and Treatment of High Blood Pressure. Arch Intern Med 1997;157:2413-2446.

วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2552

วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552

Peritonitis

Hx.
A teenage boy visit ER with evolve abdomimal pain 3hr before.He doesn' t have fever.
He deny underlying disease.
2 yrs ago he had appendectomy at surin Hospital .

PE
A teenage boy looked distress by pain
Lieing on bed
BP 120/80 PR 94 BT 37.5 RR 20
HEENT Normal
Heart and lung audible S1 S2 no murmur , normal breath sound
Abd : Boardlike rigidity
generalized tender , rebound positive
Resonance on percussion RUQ
PR : Normal

LAB : CBC Hct 37.0 wbc 12,000 PMN 78 Lymphocyte 20 Mono 2 plt 160,000
Film acute abdomen series : free air of Rt diaphram


Peritonitis
Peritonitis is defined as inflammation of peritoneum.it may be localised or generalized,generally has an acute course,and may depended on either infection(often due to rupture of hallow organ as may occur inabdominal trauma) or non infection process
Three type of peritonitis
1. Primary(spontaneous)
2. Secondary (anatomic)
3. tertiary (peritoneal dialysis related)

Mechanisms and manifestations
Abdominal pain and tenderness

The main manifestations of peritonitis are acute abdominal pain, abdominal tenderness, and abdominal guarding, which are exacerbated by moving the peritoneum, e.g. coughing, flexing the hips, or eliciting the Blumberg sign (a.k.a. rebound tenderness, as the peritoneum snaps back into place). The presence of these signs in a patient is sometimes referred to as peritonism.[1]

The localization of these manifestations depends on whether peritonitis is localized (e.g. appendicitis or diverticulitis before perforation), or generalized to the whole abdomen. In either case pain typically starts as a generalized abdominal pain (with involvement of poorly localizing innervation of the visceral peritoneal layer), and may become localized later (with the involvement of the somatically innervated parietal peritoneal layer). Peritonitis is an example of an acute abdomen.
Causes

Infected peritonitis
Perforation of a hollow viscus is the most common cause of peritonitis. Examples include perforation of the distal oesophagus (Boerhaave syndrome), of the stomach (peptic ulcer, gastric carcinoma), of the duodenum (peptic ulcer), of the remaining intestine (e.g. appendicitis, diverticulitis, Meckel diverticulum, inflammatory bowel disease (IBD), intestinal infarction, intestinal strangulation, colorectal carcinoma, meconium peritonitis), or of the gallbladder (cholecystitis).
Other possible reasons for perforation include abdominal trauma, ingestion of a sharp foreign body (such as a fish bone, toothpick or glass shard), perforation by an endoscope or catheter, and anastomotic leakage.
The latter occurrence is particularly difficult to diagnose early, as abdominal pain and ileus paralyticus are considered normal in patients who just underwent abdominal surgery.
In most cases of perforation of a hollow viscus, mixed bacteria are isolated; the most common agents include Gram-negative bacilli (e.g. Escherichia coli) and anaerobic bacteria (e.g. Bacteroides fragilis). Fecal peritonitis results from the presence of faeces in the peritoneal cavity. It can result from abdominal trauma and occurs if the large bowel is perforated during surgery.
Disruption of the peritoneum, even in the absence of perforation of a hollow viscus, may also cause infection simply by letting micro-organisms into the peritoneal cavity. Examples include trauma, surgical wound, continuous ambulatory peritoneal dialysis, intra-peritoneal chemotherapy. Again, in most cases mixed bacteria are isolated; the most common agents include cutaneous species such as Staphylococcus aureus, and coagulase-negative staphylococci, but many others are possible, including fungi such as Candida.

Spontaneous bacterial peritonitis (SBP) is a peculiar form of peritonitis occurring in the absence of an obvious source of contamination. It occurs either in children, or in patients with ascites. See the article on spontaneous bacterial peritonitis for more information.
Systemic infections (such as tuberculosis) may rarely have a peritoneal localisation.

Non-infected peritonitis

Treatment
Depending on the severity of the patient's state, the management of peritonitis may include:
General supportive measures such as vigorous intravenous rehydration and correction of electrolyte disturbances.
Antibiotics are usually administered intravenously, but they may also be infused directly into the peritoneum. The empiric choice of broad-spectrum antibiotics often consist of multiple drugs, and should be targeted against the most likely agents, depending on the cause of peritonitis (see above); once one or more agents are actually isolated, therapy will of course be targeted on them.
Surgery (laparotomy) is needed to perform a full exploration and lavage of the peritoneum, as well as to correct any gross anatomical damage which may have caused peritonitis.[2] The exception is spontaneous bacterial peritonitis, which does not benefit from surgery. http://en.wikipedia.org/wiki/Peritonitis

วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2552

HOS TUMBONE 18-08-52

10 -30 ก.ค 2552 แพทย์ประจำโรวพยาบาลให้ความรู้โรคทั่วไป
21 สิงหาคม 2552 รพ.ตำบล ส่ง job discription + ความคาดหวัง ความต้องการที่จะให้ทางทีม รพ. Train
27 สิงหาคม 2552 พ.วุฒิชัย นำเสนอตารางการปฐมนิเทศ ให้ผู้อำนวยการ
28 สิงหาคม 2552 คุณเพชรรัตน์ ส่งตารางการปฐมนิเทศบุคคลากรให้โรงพยาบาลตำบล
1 กันยายน 2552 ปฐมนิเทศเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลตำบล รับนโยบายจากผู้อำนวยการ
10 กันยายน 2552 คณะกรรมการต่าง ๆ ส่งกรอบงานต่าง ๆ ให้คุณเพชรรัตน์ นำเสนอผู้อำนวยการ
22 กันยายน 2552 คณะกรรมการนำเสนอกรอบในที่ประชุม
ติดตามงาน IT
(เสนอการประชุมประจำเดือนแบบสัญจร)

วันจันทร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2552

care your plant in workplace


ใครที่ประสบปัญหาปลูกต้นไม้ในร่มแล้วใบหรือรากเน่า

วันนี้ผมมีวิธีดูแลต้นไม้แบบง่ายๆมาบอก...


  • หมั่นเด็ด ดอก ใบที่เหี่ยวแห้งหรือติดเชื้อออก

  • รดน้ำแต่พอดี กันรากเน่า แนะว่ารอจนดินเริ่มแห้งแล้วจึงรดน้ำใหม่

  • เปลี่ยนจากการใช้สารเคลือบเงาใบไม้ มาเป็นการเช็ดใบด้วยผ้าชุบน้ำแทน

  • ที่สำคัญ อย่าลืมใส่ปุ๋ยให้ต้นไม้

วันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2552

CPG DM In PCU

ระดับ PCU
1.อัตราการคัดกรองประชาชนอายุ ≥ 35 ปี ขึ้นไป > 80 %
2.อัตราป่วย <4.6>

การดูแลในชุมชน (PCU)
1. ส่งเสริมสุขภาพในคนปกติที่ไม่เป็นโรค โดยส่งเสริมการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับวัย เช่น การวิ่ง แอร์โรบิก เดิน ในหมู่บ้าน เน้นการสร้างสุขภาพ ซึ่งประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการออกกำลังกาย ให้ความรู้เรื่องอาหาร การรณรงค์งดสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น มี อสม. รับผิดชอบดูแลโซน ซึ่งเป็นเสมือนทีมสุขภาพประจำหมู่บ้าน คอยให้ความช่วยเหลือ ให้การปรึกษา ดูแลและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ผู้เป็นกลุ่มเสี่ยง และร่วมกับเจ้าหน้าที่ในการจัดกิจกรรม ส่งเสริม ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง เพื่อป้องกันการเป็นเบาหวาน

2. คัดกรองประชากรที่มีอายุมากกว่า 35 ปี และกลุ่มเสี่ยง
ผลตรวจระดับน้ำตาลได้น้อยกว่า 100 mg% ให้ความรู้ทั่วไปและนัดเจาะเลือดซ้ำอีก 1 ปี
กรณีที่ระดับน้ำตาล ≥100-125 mg%ให้ความรู้ คำแนะนำ เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นัดเจาะเลือดซ้ำอีก 1 เดือน และติดตามทุก 6 เดือน
กรณีที่ระดับน้ำตาล≥126 mg% ส่งพบแพทย์ที่โรงพยาบาล เพื่อให้การรักษาและนัด ติดตามทุก 1 เดือนที่ PCU และ ส่งพบแพทย์ที่โรงพยาบาลทุก 6 เดือน หรือพบแพทย์เมื่อมีอาการก่อนนัด
จากนี้ยังมีการลดขั้นตอนในการมาพบแพทย์ โดยตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ก่อนมาพบเจ้าหน้าที่ที่ PCU

3. ติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้เป็นเบาหวาน สำรวจ ปัจจัย สภาพแวดล้อมที่บ้าน เพื่อได้ทราบถึงวิถีชีวิต และบริบทของผู้เป็นเบาหวานแต่ละราย ตลอดทั้งตรวจหาระดับน้ำตาล ภายหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล เพื่อประเมินผลการดูแลตนเองของผู้เป็นเบาหวาน และผู้ป่วยที่ขาดนัด พร้อมทั้งส่งข้อมูลกลับมายังโรงพยาบาล

วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552

รพ.ตำบล......หนทางที่ต้องเผชิญ


งานที่ควรจัดให้มี
1 จิดเวชชุมชน
2 ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
3 ค้นหาผู้ป่วย loss f/u เยี่ยมบ้าน case chronic ยากไร้ เงินช่วยเหลือ
4 ผังเครือญาติ แผนที่เดินดิน
5 ที่ฝึกงานของนักเรียน สร้างจิตสำนึกให้นักเรียน รักบ้านเกิด ให้ค่าตอบแทนบ้าง
อ ส ม คัดกรอง เบาหวาน ความดัน
IT
Internet high speed
ก่อตั่ง โรงพยาบาลตำบล
เชิญแต่ละแห่งมาร่วมเปิด ร่วมสร้าง
นวัตกรรม
เครื่องมือประยุกต์ ใน chronic แคร่ เครื่องทำกายภาพบำบัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล

นำแนวความคิดของ อ.นพ.พงศ์พิชญ์ วงศ์มณี อ.เกษร วงศ์มณี จากแนวคิดโรงพยาบาลตำบลมาเป็นแม่แบบ
นำเป็นนโยบายการเมืองสู่การปฏิบัติ ถ้าใช้ชื่อโรงพยาบาลตำบลชาวบ้านจะนึกถึงสถานบริการต้องมีแพทย์ ทำให้กระทรวงเปลี่ยนแนวคิดเป็นโรงพยาบาลส่งเสิมสุขภาพระดับตำบลที่เน้นการทำงานส่งเสริมสุขภาพเป็นหลักภายใตการทำงานแบบสหวิชาชีพดูแลสุขภาพแบบการพึ่งตนเอง และครอบคลุม ทั้ง 4 มิติ กาย ใจ สังคม จิตวิญญาณ ความเชื่อ และวัฒนธรรมประเพณี
แนวคิดการดำเนิงานคือการใช้บ้านคือเตียงนอนผู้ป่วย(Home Ward) ใช้เครื่องมือที่สำคัญคือ “เวชศาสตร์ครอบครัว”เป็นเข็มมุ่งทิศทำงาน สร้างศรัทธาและความไว้วางใจ สร้างสัมพันธ์ระหว่างทีมสุขภาพกับประชาชน เรียนรู้ชุมชนและ ศักยภาพของชุมชน เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม (patnership)จัดระบบบริการสุขภาพตนเอง โดยการลงขัน 2 บาท และเข้ามามีส่วนร่มบริหารจัดการกองทุนสุขภาพที่ร่วมลงขัน
ขั้นต้อนการทำงาน
1.สร้างแนวคิดกับแกนนำชุมชน ได้แก่ นายก อบต. กำนัน ผู้นำความคิดในชุมชนเพื่อขับเคลือน โดยการศึกษาดูงาน บรรยายจากผู้มีประสบการณ์
2. ประชาคมชาวบ้านประชาชนทุกหมู่บ้าน
3. ระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาศักยภาพ
4. พัฒนาศักยภาพสถานบริการ ด้านการบริการ ด้านกำลังคน ด้านอาคารสถานที่ เพื่อความเป็นเลิศไม่ว่าด้านบริการ ด้านชุมชน
5. บริหารจัดการภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน

Necrotizing fasciitis



Necrotizing fasciitis at a possible site of insulin injection in the left upper part of the thigh in a 50-year-old obese woman with diabetes.



Necrotizing fasciitis can occur after trauma or around foreign bodies in surgical wounds, or it can be idiopathic, as in scrotal or penile necrotizing fasciitis.
Necrotizing fasciitis has also been referred to as hemolytic streptococcal gangrene, Meleney ulcer, acute dermal gangrene, hospital gangrene, suppurative fascitis, and synergistic necrotizing cellulitis. Fournier gangrene is a form of necrotizing fasciitis that is localized to the scrotum and perineal area.
Necrotizing fasciitis is a progressive, rapidly spreading, inflammatory infection located in the deep fascia, with secondary necrosis of the subcutaneous tissues. Because of the presence of gas-forming organisms, subcutaneous air is classically described in necrotizing fasciitis. This may be seen only on radiographs or not at all. The speed of spread is directly proportional to the thickness of the subcutaneous layer. Necrotizing fasciitis moves along the deep fascial plane.
These infections can be difficult to recognize in their early stages, but they rapidly progress.
They require aggressive treatment to combat the associated high morbidity and mortality.






The causative bacteria may be aerobic, anaerobic, or mixed flora, and the expected clinical course varies from patient to patient.




Penicillin G (Pfizerpen)
Interferes with synthesis of cell wall mucopeptide during active multiplication, resulting in bactericidal activity against susceptible microorganisms.
Adult
8-10 million U/d IV divided q4-6h
Pediatric
500,000-800,000 U/kg/d IV divided q4-6h
Clindamycin (Cleocin)
Lincosamide for treatment of serious skin and soft tissue staphylococcal infections. Also effective against aerobic and anaerobic streptococci (except enterococci). Inhibits bacterial growth, possibly by blocking dissociation of peptidyl t-RNA from ribosomes causing RNA-dependent protein synthesis to arrest. To be used as an alternative to penicillin G.

Adult
600 mg IV q6h
Pediatric
5 mg/kg IV q6h

Metronidazole (Flagyl)

imidazole ring-based antibiotic active against various anaerobic bacteria and protozoa. Used in combination with other antimicrobial agents (except for C difficile enterocolitis). Appears to be absorbed into cells of microorganisms containing nitroreductase. Unstable intermediate compounds that bind DNA and inhibit synthesis are formed, causing cell death.

Adult
Loading dose: 15 mg/kg or 1 g for 70-kg adult IV over 1 hMaintenance dose: 6 h following loading dose; infuse 7.5 mg/kg or 500 mg IV for 70-kg adult over 1 h q6-8h; not to exceed 4 g/d
Pediatric
15-30 mg/kg/d IV divided bid/tid; not to exceed 2 g/d

Ceftriaxone (Rocephin)

DOC in initial treatment. Third-generation cephalosporin with broad-spectrum, gram-negative activity. Lower efficacy against gram-positive organisms and higher efficacy against resistant organisms. Arrests bacterial growth by binding to one or more penicillin-binding proteins.

Adult
1-2 g IV qd or divided bid
Pediatric
75 mg/kg/d IV divided bid

Gentamicin (Garamycin)

Aminoglycoside antibiotic for gram-negative coverage. Used in combination with both an agent against gram-positive organisms and one that covers anaerobes. Not the DOC. Consider if penicillins or other less toxic drugs are contraindicated, when clinically indicated, and in mixed infections caused by susceptible staphylococci and gram-negative organisms.Adjust dose based on CrCl and changes in volume of distribution. Follow each regimen by at least a trough level drawn on the third or fourth dose (0.5 h before dosing). Peak level may be drawn 0.5 h after 30-min infusion.

ที่ รพ.สังขะ อาจพิจารณาใช้
regimen PGS+ Genta+ metro

Cloxa + clinda

Cloxa+cef-3 + Metro

Cloxa+clinda+metro

clinda+cef-3



บทคัดย่อและคำสำคัญ (Abstract and Keyword)
เอกสารลำดับที่ :
2139
Full text Online :
Download เอกสารฉบับสมบูรณ์
บทคัดย่อไทย :

ได้ศึกษาจากรายงานผู้ป่วยจำนวน 8 ราย ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น cervicofacial necrotizing fasciitis ในโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึงปี พ.ศ. 2550 พบว่าผู้ป่วย 4 ราย (50%) มีสาเหตุจากฟันผุและผู้ป่วย 2 ราย (25%) มีสาเหตุจากฝีที่ต่อมน้ำลายหน้าหู ผู้ป่วยส่วนมากมีปัญหาด้านสุขภาพ คือ โรคเบาหวานและภาวะขาดสารอาหารร่วมด้วย อาการแสดงทางคลินิก ผู้ป่วยจะมีไข้สูง ก้อนที่คอกดเจ็บ และตรวจพบ soft tissue crepitation ได้ในผู้ป่วย 5 ราย (63%) ผู้ป่วย 4 รายมีอาการแสดงของภาวะ sepsis เชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุด คือ Streptococcus sp. เช่นเดียวกับรายงานอื่น แนวทางการรักษาประกอบด้วยการให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำหลายชนิดที่ครอบคลุมเชื้อต่างๆ การผ่าตัดเพื่อระบายหนองและตัดเนื้อเยื่อที่อักเสบและเน่าตาย การเฝ้าระวังและรักษาโรคแทรกซ้อนรวมทั้งการผ่าตัดซ้ำหลายครั้งเพื่อตัดเนื้อเยื่อที่อักเสบและเน่าตายออกมีความสำคัญในการช่วยลดอัตราการเสียชีวิต ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดซ้ำโดยเฉลี่ย 3 ครั้ง มีผู้ป่วย 1 ราย เกิดโรคแทรกซ้อนที่รุนแรง คือ mediastinitis อัตราเสียชีวิตร้อยละ 13
คำสำคัญไทย :
cervicofacial necrotizing fasciitis, อาการแสดงทางคลินิก, แนวทางการรักษา
English Abstract :

A retrospective study of 8 cervicofacial necrotizing fasciitis patients presented at Nakornping Hospital between 2002 to 2007 was carried out and showed dental origin in 4 cases (50%) and parotid abscess in 2 cases (25%). Ascociated diseases were diabetes mellitus and hypoalbuminemia. Clinical manifestations were neck mass and inflammation skin. Five patients (63%) of cases were positive for soft tissue crepitation. Four patients had sepsis at first presentation. All of pus cultures were positive and the most common bacteria was Streptococcus sp. Treatment included administration of broad spectrums intravenous antibiotics and surgical debridement. Frequent neck debridement was necessary to decrease mortality. One case severe complication with a of mediastinitis was reported. This study show 13% mortality rate.
English Keyword:
cervicofacial necrotizing fasciitis, clinical manifestations clinical, management

new pic for relax


วันศุกร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552

H1N1 hot hit


คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย

1. หากมีอาการป่วยไม่รุนแรง เช่น ไข้ไม่สูง และรับประทานอาหารได้ สามารถดูแลอาการด้วยตนเองที่บ้านได้ ควรให้พาราเซตามอลเพื่อลดไข้ (ห้ามใช้ยาแอสไพริน) นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
2. หยุดเรียน หยุดงาน จนกว่าจะหายเป็นปกติ และหลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชิดใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่นหรือออกไปในที่ชุมชน เพื่อลดการแพร่เชื้อ
3. ใช้กระดาษทิชชู ผ้าเช็ดหน้า ปิดปากและจมูกทุกครั้งที่ไอ จาม ล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ำและสบู่ หรือใช้แอลกอฮอล์เจลทำความสะอาดมือและสวมหน้ากากอนามัยเมื่อจำเป็นต้องอยู่กับผู้อื่น
4. ควรให้ผู้ป่วยแยกห้องเป็นสัดส่วน และอยู่ในที่มีอากาศถ่ายเทได้
5. หากอาการไม่ดีขึ้นเช่น ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอมากขึ้น เจ็บหน้าอก เหนื่อย อาเจียนมาก รับประทานอาหารได้น้อย ซึม เป็นต้น ควรรีบไปพบแพทย์
6. ผู้ดูแลผู้ป่วยควรล้างมือบ่อยๆ หรือใช้หน้ากากอนามัย

คำแนะนำสำหรับประชาชนทั่วไป


1. ล้างมือบ่อยๆด้วยน้ำ และสบู่ หรือใช้แอลกอฮอล์เจลทำความสะอาดมือ
2. ไม่ใช้สิ่งของ เช่น แก้วน้ำ หลอดดูดน้ำ ช้อนอาหาร ผ้าเช็ดมือ ผ้าเช็ดตัว เป็นต้น ร่วมกับผู้อื่น
3. ไม่ควรคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการไข้หวัด
4. กินอาหารที่มีประโยชน์ เน้นผัก ผลไม้ นม ไข่ ทานอาหารปรุงสุกใหม่ๆ และ ใช้ช้อนกลาง นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
5. ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่มีผู้คนแออัดและอากาศถ่ายเทไม่ดีเป็นเวลานาน โดยไม่จำเป็น
6. ผู้มีโรคประจำตัว เช่น โรคปอด หอบหืด เบาหวาน โรคไต มีครรภ์ โรคอ้วน ทาลัสซีเมีย ภูมิต้านทานต่ำ ตั้งครรภ์ อายุต่ำกว่า 2 ปี หรือมากกว่า 65 ปี เป็นหวัดต้องพบแพทย์ทันที
7. ผู้มีโรคประจำตัว เช่น โรคปอด หอบหืด เบาหวาน โรคไต มีครรภ์ โรคอ้วน กินยากดภูมิต้านทาน ต้องแจ้งให้แพทย์ทราบทันที

Cosmetic dermatology book


Cosmetic Dermatology:
Principles and Practice,
Second EditionBy Leslie Baumann*
Publisher: McGraw-Hill Professional*
Number Of Pages: 336*
Publication Date: 2009-04-08*
ISBN-10 / ASIN: 0071490620*
ISBN-13 / EAN: 9780071490627

Aloepecia areata

History


A girl complian with hair loss about 1 month ago.she deny febrile arthralgia or sickness before.no underlying disease.and deny disorder in her family.

Physical examination

A girl looked anxiues .good mental screening.
Not pale, no jaundice,no Beau’s line or pitted nail.thyroid not enlarge
No lymphadenopathy,liver and spleen impalpable.
No vitiligo


ผู้ป่วยรายนี้มาด้วย non scaring alopecia ลักษณะผมร่วงเป็นย่อม ๆ เข้าได้กับ Alopecia areata มากที่สุด อื่นที่ต้องซักประวัติคือ fungal infection bacterial infection chemical ผลการกระทำของตนเอง เช่น Trichotillomania ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ systemic disease

Approach alopecia


สาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าเกิดจาก autoimmune พบว่าประมาณ 1 % ของผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ด้วยโรคผิวหนังเป็นโรคนี้ พบในผู้ป่วยอายุ 20 -30 ปี ในระยะ active บริเวณรอบ ๆ จะดึงหลุด ส่วนบริเวณอื่นดึงไม่หลุด ตรวจเล็บอาจพบ pitted nail หรือ dystrophic nail
การรักษา
ส่วนใหญ่หายเองภายใน 1 ปี แต่ประมาณ 30 – 40 % ของผู้ป่วยเกิดโรคซ้ำ
การรักษาอาจใช้ potent steroid หรือ intralesional steroid ไม่เกิน 20 mgต่อครั้ง ทุก 4-6 wks นอกจากนี้อาจรักษาโดย PUVA ทา minoxidil

......................

วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552

10 สัญญาณที่บอกว่า เขากำลังจะทิ้งคุณแล้ว


1. เขาไม่พูดเรื่องอนาคตอีกแล้ว ไม่เป็นแม้แต่จะออกความเห็นว่าจะไปดินเนอร์ที่ไหน

2. เขาเก็บข้าวของทุกอย่างที่คุณทิ้งไว้ที่บ้านเขาใส่กล่อง และเก็บไว้ที่ชั้นล่างสุดของตู้เสื้อผ้า โดยให้เหตุผลว่า "จะได้แน่ใจว่าไม่มีอะไรหาย"

3. คุณเพิ่งไปเห็นว่าของขวัญวันครบรอบราคาแพงที่คุณให้เขา ไปประกาศขายอยู่ในอีเบย์

4. เพื่อนๆ คุณทำเป็น "แกล้งลืม" หนังสือ เรื่อง He's Just Not That Into You (เขาไม่ได้ชอบคุณขนาดนั้นหรอก) ไว้ที่บ้าน และก็ไม่ยอมเอาคืนจนกว่าคุณจะอ่านจบ

5. หลังจากที่คุณบอกเขาว่าเขาจะทำอะไรก็ได้ เขาแว้ดกลับมาว่า "ทำไมคุณถึงได้พยายามจะควบคุมผมนัก"

6. ความคิดเรื่องล้อเล้นสนุกของเขาตอนนี้ คือ การขอเบอร์โทรศัพท์สาวๆ ต่อหน้าต่อตาคุณ

7. เขามักมีเหตุผลในการไม่รับโทรศัพท์และไม่ตอบข้อความ SMS ที่คุณส่งไปหา

8. คุณบอกเขาว่าคุณต้องการความใกล้ชิดและการแสดงความรัก และขาบอกคุณอย่างสุภาพว่า นั้นเป็นจินตนาการไร้สาระแบบเด็ก ๆของคุณ

9.เขามักจะเหนื่อยเมื่อคุณคึก แต่เขากลับไปเที่ยวกับเพื่อนๆ จนถึงตีสี่

10. เขาเริ่มมีธุระไปประชุมหรือสัมมนานอกเมืองนาน ๆ บ่อยขึ้น ทั้ง ๆ ที่เขาไม่ได้ทำงาน และไม่ใช่แค่นั้น เขายังยืนยันที่จะเอาแปรงสีฟันอันที่เขาทิ้งไว้ที่บ้านคุณไปด้วย

วันอังคารที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2552

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล

นโยบาย

หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีพื้นที่รับผิดชอบใน
ระดับตำบล

-เน้นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระัดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน
- พร้อมกับมีความสามารถในการให้บริการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มขึ้น
โดยเป็นเครือข่ายกับโรงพยาบาลชุมชน หรือ
โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป และสามารถให้คำปรึกษา/ส่งต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมง
จุดหมายปลายทาง (Destination)
ประชาชน
(มุมมองเชิงคุณค่า)
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพ ของประชาชนในชุมชนได้
- ประชาชนมีภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
กระบวนการ
(มุมมองเชิงบริหารจัดการ)
- มีองค์ความรู้นวัตกรรมเทคโนโลยี ที่ทันสมัย ตรงความต้องการของลูกค้า
- การถ่ายทอดองค์ความรู้ / เทคโนโลยี ที่มีมาตรฐานครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
- มีระบบสารสนเทศที่ทันสมัยเข้าถึงได้ง่าย
- มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่าย
ภาคีเครือข่าย

(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย)
- ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุน การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่
- องค์กรท้องถิ่นเห็นความสำคัญ และ ให้การสนับสนุนทรัพยากรในการส่งเสริมสุขภาพต่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง
- มีเครือข่ายการดำเนินงานในชุมชน
พื้นฐาน
(มุมมองเชิงการเรียนรู้ และพัฒนา)
- ฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพ
- องค์กรมีสมรรถนะสูง


1. กระทรวงสาธารณสุขควรปรับกระบวนทัศน์ให้บุคลากรสาธารณสุขเข้าใจหลักการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพได้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลประยุกต์ใช้แนวคิด และกระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเพื่อการพัฒนาคุณภาพบริการ

3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของ กลุ่มวัยต่าง ๆ เช่น คลินิกฝากครรภ์ คลินิกสุขภาพเด็กดี คลินิกวัยรุ่น คลินิก ไร้พุง คลินิกผู้สูงอายุ ควบคู่กับกิจกรรมพัฒนาชุมชน โดยชุมชนและท้องถิ่น มีส่วนร่วมพัฒนา จนเกิดมาตรการสังคมในชุมชน

4. โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ทำงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อย่างเป็นเครือข่าย ทั้งด้านการให้คำปรึกษาและการส่งต่ออย่างเป็นระบบ
5. การจัดสรรทรัพยากรควรปรับปรุง ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของแต่ละพื้นที่
บุคลากรมีศักยภาพเป็นมืออาชีพ
บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1.คลินิกฝากครรภ์
2. คลินิกเด็กดี และพัฒนาการเด็ก
3. คลินิกวัยรุ่น และให้คำปรึกษา
4. คลินิกวางแผนครอบครัว
5. คลินิกไร้พุง
6. คลินิกผู้สูงอายุ
7. การเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ
8. อนามัยโรงเรียน
9. การทำแผนชุมชน กิจกรรมชุมชน พัฒนาชุมชน ชมรมสร้างสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมเด็กไทยทำได้
ประชาชนได้อะไร
- ความครอบคลุม (coverage) ของบริการขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น
- การให้วัคซีน
- การฝากครรภ์ ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
- คุณภาพชีวิต (Quality of life) ของประชาชนดีขึ้น
- อัตราทารกตาย และ แม่ตายลดลง
- การเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนในระดับตำบลดีขึ้น
—ลดความแออัดของโรงพยาบาลแม่ข่ายลง
—จำนวนผู้ป่วย ข้ามจากตำบลมาโรงพยาบาลอำเภอ/จังหวัดลดลง
—การนอนโรงพยาบาลจากโรคแทรกซ้อนหรือโรคป้องกันได้ลดลง
- มีการค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มมากขึ้น
- ภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรังลดลง
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมารับบริการจำนวนเพิ่มขึ้น (คน/ครั้ง)
- อัตราตายลดลง

HT crisis in sankha HOS ...Thank Dr Sanong


Forward mail ดีดี

ค้นหาบล็อกนี้