วันอาทิตย์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2552
To do 15-12-52
CPR at ER must know
Buy gift for...minister
Adjust clinic schedule
Rate IV in children
ATB in children
NATURE meeting
LAB meeting
Amitryp overdose
Tricyclic antidepressants และ phenothiazines
ยาในกลุ่มนี้เป็นยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยจิตเวช และเป็นกลุ่มยาที่เป็นสาเหตุสำคัญที่พบในผู้ป่วยภาวะเป็นพิษจากยา เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการซึมเศร้าและมีแนวโน้มที่จะฆ่าตัวตายสูง
เภสัชฤทธิวิทยา
ยาในกลุ่ม antidepressants และ phenothiazines เป็นยาที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาคล้ายกัน กลไกการออกฤทธิ์คือ ยากลุ่มนี้สามารถจะยับยั้ง neuronal reuptake ของ neurotransmitters ยากลุ่มนี้มีฤทธิ์สำคัญ 4 ประการ ประการที่ 1 เป็นพิษต่อประสาทส่วนกลาง ประการที่ 2 มีฤทธิ์ต่อหัวใจ โดยการยับยั้ง sodium channel ทำให้มีผลแบบ quinidine like action ประการที่ 3 มีฤทธิ์ anticholinergic แบบ atropine และประการสุดท้ายมีฤทธิ์ alpha blocking ยาในกลุ่มนี้มีสูตรทางเคมีต่างๆ ซึ่งทำให้มีคุณสมบัติแตกต่างออกไปบ้าง
เภสัชจลนศาสตร์
ยากลุ่มนี้มีคุณสมบัติละลายได้ดีในไขมัน มีการกระจายตัวสูงและมีค่า half-life ยาวเป็นวัน ตามแต่ชนิดของตัวยา ส่วนใหญ่จะถูกกำจัดออกจากร่างกายทางตับ ส่วนน้อยจะขับออกทางไต ยากลุ่มนี้มีคุณสมบัติเป็นด่างอ่อนๆ ในกระแสเลือดจะจับกับ protein ได้สูง การจับตัวกับ protein ขึ้นอยู่กับ pH ถ้าสภาพเลือดเป็นด่าง จะจับตัวได้มาก และในสภาะเป็นกรดจะกระจายตัวได้มาก
อาการแสดงทางคลินิก
ภาวะเป็นพิษจากยากลุ่มนี้เป็นภาวะที่รุนแรงและมีอัตราตายสูง ผู้ป่วยมักจะตายภายใน 24 ชั่วโมงแรก จากอาการชัก หมดสติ หรือความผิดปกติของ conduction ของหัวใจ อาการแสดงของผู้ป่วยแยกตามกลไกการออกฤทธิ์
ประการแรก อาการทางสมอง ในระยะแรกผู้ป่วยมักมีอาการ delirium สับสน วุ่นวาย แต่ถ้าได้รับยามากจะมีอาการซึม จนถึง coma และหยุดหายใจได้ ในผู้ป่วยที่มีภาวะเป็นพิษอย่างรุนแรงนั้นมีอาการชักและ myoclonus ร่วมด้วย
ประการที่ 2 พิษต่อหัวใจ ระยะแรกผู้ป่วยมีอาการชีพจรเต้นเร็วแบบ sinus เกิดจากฤทธิ์ anticholinergic ในรายที่เป็นมาก จะพบ widening ของ QRS complex ซึ่งเป็นตัวชี้ความรุนแรงของภาวะเป็นพิษได้ และมีอาการแทรกซ้อนอื่นๆเช่น AV block และ ventricular arrhythmias ซึ่งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ มีรายงานผู้ป่วยบางรายที่ฟื้นจากภาวะเป็นพิษจากยาในกลุ่มนี้แล้วเกิดอาการ late arrhythmias ทำให้เกิด sudden death แต่พบได้น้อย นอกจากนี้ผู้ป่วยอาจมีอาการความดันโลหิตต่ำจากฤทธิ์ของ alpha blocking ได้ กลุ่มอาการที่ 3 คือ กลุ่มอาการ anticholinergic ทำให้มีผิวแห้ง, hyperthermia, ileus, urinary retention เป็นต้น
โดยทั่วไปสามารถแยกภาวะเป็นพิษจาก cyclic antidepressants จากกลุ่ม phenothiazines โดยการดูขนาดของรูม่านตา ในภาวะเป็นพิษจาก cyclic antidepressants ขนาดรูม่านตาจะโต เนื่องจากยานี้มีฤทธิ์ anticholinergic มากกว่าฤทธิ์ alpha blocking ส่วนภาวะ phenothiazines นั้นรูม่านตามักจะเล็ก เพราะยามีฤทธิ์ alpha blocking มากกว่า anticholinergic ยาทั้งสองกลุ่มนี้แยกจากยา sedative hypnotics อื่นๆคือมีอาการ anticholinergic ร่วมด้วย และนอกจากนี้ยังมี widening ของ QRS และ prolonged QT interval
การรักษา
ภาวะเป็นพิษจากยาในกลุ่ม cyclic antidepressants หรือ phenothiazines เป็นภาวะที่มีอัตราตายสูง การรักษาจะประสบความสำเร็จนั้นอยู่ที่การประคับประคองผู้ป่วยเป็นสำคัญ โดยเฉพาะการดูแลผู้ป่วยที่หมดสติไม่ให้มีอาการแทรกซ้อน การ admit ผู้ป่วยใน ICU เพื่อ monitor และรักษาภาวะ cardiac arrhythmias และการรักษาอาการชักซึ่งบางครั้งอาจรุนแรงแบบ status การ decontamination ก็เหมือนกับการรักษาสารพิษอื่นๆ แต่ที่ควรเน้นคือ ภาวะเป็นพิษจากยาที่มีฤทธิ์ anticholinergic นั้น จะทำให้ gastric emptying time นานขึ้น ยาอาจจะตกค้างในกระเพาะอาหารได้นาน จึงควรจะทำการล้างท้องผู้ป่วยแม้จะมาโรงพยาบาลหลัง 1 ชั่วโมงไปแล้ว
ในภาวะเป็นพิษจากยากลุ่มนี้ การรักษาที่สำคัญอันหนึ่งคือการใช้ NaHCO3 เ เป็นระยะๆ ตามความจำเป็น และเมื่อพบว่ามี widening ของ QRS complex ซึ่งเป็นตัวชี้ความรุนแรงของภาวะเป็นพิษ จะเป็นการรักษาเสริมกับการรักษาอื่นๆ เช่น การใช้ยา antiarrhythmias เป็นต้น
ในการเพิ่มการขจัดยาออกจากร่างกายนั้นพบว่า การให้ repeated dose ของ activated charcoal ขนาด 0.5-1gm ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม q 4-6 hr อาจจะทำให้สามารถกำจัดยาออกจากร่างกายได้มากขึ้น
การทำ forced diuresis ไม่ช่วยในการกำจัดยา
การทำ hemodialysis ก็ไม่มีผลในการกำจัดยาเช่นกัน แต่การทำ hemoperfusion โดยเฉพาะในรายที่มีอาการรุนแรงอาจจะช่วยได้บ้าง แต่การกำจัดยาออกจากร่างกาย แม้ด้วยวิธีนี้ก็ยังได้ผลไม่ดีนัก
การรักษาภาวะเป็นพิษจากยากลุ่มนี้ยังไม่มี antidote จึงเป็นการรักษาตามอาการ ยา physostigmine ซึ่งเคยแนะนำว่าควรใช้เป็น antidote นั้น ห้ามใช้เด็ดขาด เพราะว่าไม่ได้ผล นอกจากนี้อาจจะทำให้ชักได้
วันเสาร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2552
Meliodosis
then Doxy Bactrim ให้ครบ 6 - 12 เดือน
วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
Prepare place to meeting
236 หมู่ 5 ถ.ธนะรัตน์ ต.ขนงพระ อ.ปากช่อง
เบอร์โทรศัพท์ :
(662)186-3186
โทรสาร :
(662)186-3182
ดาว :
สิ่งอำนวยความสะดวก :
English Page
โบนันซ่า เขาใหญ่ (Bonanza Khao Yai) ที่สำหรับผู้ที่รักในธรรมชาติ ที่ที่ท่านสามารถผ่อนคลาย บนพื้นที่ขนาด 3,000 ไร่อยู่ติดกับอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ใข้เวลาขับรถเพียง 2 ชั่วโมงจากกรุงเทพฯ เชิญท่านมาผ่อนคลายกับความเงียบสงบ และสัมผัสกับธรรมชาติอย่างใกล้ชิด
โบนันซ่า เขาใหญ่ สถานที่ได้รับการตกแต่งให้มีความเป็นธรรมชาติมากที่สุด พนักงานของเราพร้อมให้ความช่วยเหลือ และบริการแก่ท่านด้วยมิตรภาพ ห้องพักประกอบด้วย 40 standard rooms, 22 deluxe rooms, 4 junior suite rooms, 2 suites, และ 18 bungalows.
*****************************************************************************
สถานที่ :
125 หมู่ 2 ถ.ธนรัตน์ ตำบลหมูสี อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา 30130
เบอร์โทรศัพท์ :
0 4429 7111, 08 7503 1188, 08 7674 9911, 08 9477 0709
เว็บไซต์ :
http://www.phuwanalee.com
อีเมล :
marketing@phuwanalee.com, sales@phuwanalee.com
ราคา :
3,000 - 18,000 THB *
จำนวนห้อง :
24 ห้อง
สถานที่น่าสนใจที่อยู่ใกล้เคียง :
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
**************************************************************************
The Greenery Resort Khao Yaiเดอะ กรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่
The Greenery Resort Khao Yai - เดอะ กรีนเนอะรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่
With the touch of nature from mountain surrounded area That we are well familar with KHAO YAI National Park is waiting to offer comfort and Happiness here......
Room Type(Incl. Breakfast)
Low Season1 Mar 10 - 30 Sep 10
High Season1 Oct 09 - 28 Feb 10
Greenery Room (Deluxe)
2,400
3,200
Greenery Plus (Premier)
2,800
3,750
Greenery Premier (Premier Plus)
3,200
4,050
- From 30 Dec 09 - 2 Jan 10, Require Booking for Check in 30 Dec 09 Check out 1 Jan 10 or Check in 31 Dec 09 Check out 2 Jan 10- Surcharge for 24 Dec 09 - 3 Jan 10 at 1,500 Baht / room / night.- Compulsory New Year's Gala Dinner on 31 Dec 09 Charged at 2,900 THB/person Children 2,100 THB/person
Terms & Conditions:
All the above rates are in Thai Baht, inclusive of 10% Service Charge plus 7% government tax.
Rates are subject to change without prior notice.
Child under 12 sharing room with existing bed will be accommodated at additional charge unless and extra bed is required.
Surcharge for 24 Dec 09 - 3 Jan 10 at 1,500 Baht / room / night.
Check-in time is 14:00 Hrs, check-out time 12:00 Hrs. Any room used from 12:00 noon to 18:00 Hrs on the departure day will be charged at 50% of room rate. Any room occupied beyond 18:00Hrs. will be charged at full amount of room rate.
Full pre-payment within 30 days before arrival date. Visa/master card is accepted with 3.5% service charged.
All cancellation or amendment must be made in written notice or email to us with our acknowledgement within 30 days prior to arrival date. Otherwise, we reserve a right to charge at least one-night room rate per room.
No show: 100% of payment will be charged.
*******************************************************************************
Useful Information
THE GREENERY RESORT KHAO YAI188/1 Thanarat Rd., Moo See, Pakchong, Nakornratchasima 30130, ThailandTelephone : + (66) 4429 7668Facsimile : + (66) 4429 7226Map : Greenery Resort Khao Yai Map
Bangkok Sales Office
Maleenont Tower, 18/2 Floor, 3199 Rama 4 Rd., Klongton, Klongtoey, Bangkok 10110, ThailandTelephone : + (66) 2661 2999Facsimile : + (66) 2661 2389 Email : sales@greeneryresort.com
Reservations
Telephone : + (66) 2661 2999 Ext. 519Facsimile : + (66) 2661 2389Online Reservations – With Immediate Confirmation Email : reservations@greeneryresort.com
แผนอัคคีภัย
2 จะขนอะไร ก่อนหลัง
3 บทบาทหน้าที่ ===>สมมติเกิดเหตุ ===> จะทำอย่างไร (ใน - นอก )
4 ไซเรน ตั้งจุด
5 กองบัญชาการต้อง 24 ชั่วโมง ติดต่อหน่วยงานอื่น
6 ระบบรถ การเดินรถ วงเวียน เชือกสี
Ex 1 ......
เวลาประมาณ 10.30 น. ขณะที่สมาชิกทีมครัวกำลังปรุงอาหารกลางวัน ที่ห้องประกอบอาหารตึกทองเนื้อเก้า ได้เกิดท่อแก๊สหุงต้มหลุดจากหัวถังแก๊ส เกิดประกายไฟที่หัวแก๊ส ประกายไฟได้ลวกหน้าผู้ปรุงอาหาร 1 ราย ผู้ประกอบอาหารอีก 2 รายตกใจจนเป็นลม และได้มีผู้ประสบเหตุ รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ ที่ตึกกิจกรรมให้ทราบ
เจ้าหน้าที่คนที่ 1 รีบรุดไปดูที่เกิดเหตุ และทำตามขั้นตอนที่ได้รับการสาธิต เจ้าหน้าที่คนที่ 2 โทรแจ้งเหตุที่ 400 และเป่านกหวีดเรียกสมาชิกมาที่จุดรวมพลทั้งหมด
เจ้าหน้าที่คนที่ 3 รวบรวมสมาชิกที่แข็งแรงเข้าช่วยเหลือผู้ได้รับบาดเจ็บ ลำเลียงมาให้การปฐมพยาบาลที่จุ
ดรวมพล
ประเมินผลการฝึกซ้อม
วันอังคารที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
To do 11-09
11-12-09 13.00 - 16.30 HA Hos
12-11-09 invite cheifs for donate my primary school OK
12-11-09 follow job MSO
16-11-09 รวบรวมเงินจากการบริจาค ฝากคลินิกเย็น store up grant -in-aid
amass
[VT] รวบรวม, See also: สะสม, Syn. gather, store up, collect together
grant
[N] เงินช่วยเหลือ, See also: เงินบริจาค, เงินสนับสนุน, Syn. allowance, financial aid, grant-in-aid
25-11-09 เตรียมประชุม รพ ตำบล 1-12-52
08-12-09 Tue -HA HOS meeting
15-12-09 Wedn-HOS tumbone meeting 13.00 - 16.30 Sanfan hall
16-12-09 ซ้อมแผนอัคคีภัย>>> fire drilln. การซ้อมดับเพลิง
วันเสาร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2552
frackle
เกิดจากการเสื่อมของผิวหนังและสภาพเส้นใยคอลลาเจนในชั้นผิว ซึ่งมีสาเหตุมาจากทั้งภายในและภายนอกร่างกายแสงแดดเป็นปัจจัยในชีวิตประจำวันที่มีผลกระทบกับผิวชัดเจนที่สุด เพื่อป้องกันริ้วรอยบนใบหน้า ควรทำสิ่งเหล่านี้เป็นกิจวัตร
1.ใช้ยากันแดดที่มีค่า SPF สามารถป้องกันรังสี Ultraviolet ชนิด B (UVB) ที่มีค่า SPF มากกว่า 30 และสำหรับค่าป้องกัน UVA ควรมีค่า PA2+ ขึ้นไป
2. ดูแลผิวพรรณเดิมของตนให้ดี เช่น เลือกใช้ผลิตภัณฑ์เหมาะสมกับสภาพผิว หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมที่มีผลเสียต่อผิว เช่นแสงแดด เครื่องสำอางที่ไม่ได้คุณภาพ ฯลฯ ควรทาครีมให้ความชุ่มชื้นกับผิว บริโภคอาหารมีประโยชน์และพักผ่อนให้เพียงพอทำจิตใจให้สดชื่น เพราะการมีจิตใจดี มีส่วนให้ผิวหน้าเปล่งปลั่ง สำหรับการแก้ไขริ้วรอย ก็อาจแก้ไขได้ด้วยวิทยาการก้าวหน้าสมัยใหม่อันได้แก่
1 .การขัดผิว (Microdermabrasion) เช่น ขัดด้วยสมุนไพร ผงทรายหรือผงอัญมณี รวมถึงการขัดด้วย laser
2 .การพอกหน้า (Mask) ด้วยเจล โคลน สาหร่าย ฯลฯ ที่อาจผสมสารบำรุงลงไปด้วย
3 การลอกหน้าด้วยสารเคมี ซึ่งมีความเป็นกรด AHA
4. การทายา ได้แก่ กรด AHA, กรดวิตามินเอ (Retinoid) และ Retinol
5. การใช้แสง Intense Pulse Light (IPL) ซึ่งไม่ทำให้เกิดบาดแผลและได้ผลดี
6. การฉีดสารทดแทนเข้าใต้ผิวหนัง เช่น Hyalunomic acid
7. การฉีดสารเพื่อให้เกิดอัมพาตของกล้ามเนื้อเฉพาะที่ (Botulinum toxin )
8. การใช้คลื่นแม่เล็กไฟฟ้าช่วยคลื่นวิทยุ Radio Frequency ( RF ) กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน
9. การใช้แสงเลเซอร์บางชนิดที่ช่วยกระตุ้นการสร้างคอลลาเจน
การจะมีผิวสวยไร้ริ้วรอยได้นั้น ต้องดูแลทั้งการปกป้อง บำรุง การฟื้นฟู และรักษาอย่างต่อเนื่อง และไม่ว่าจะเลือกใช้วิธีใดก็ตาม ควรเตรียมใจไว้บ้าง สำหรับผลลัพธ์ซึ่งอาจไม่เป็นไปตามคาดหวังไว้ เพราะในความจริงทางการแพทย์เรื่องการบำบัดริ้วรอยนั้น ขณะนี้ ยังไม่มีวิธีใดสามารถรับประกันว่าได้ผล 100 %
วันอังคารที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันอาทิตย์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2552
Psoriasis reveiw
เป็นโรคผิวหนังเรื้อรังที่เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันมีความบกพร่อง ทำให้เซลล์ผิวหนังกำพร้าแบ่งตัวเร็ว ทำให้ผิวหนาตัวขึ้นและเป็นขุย
รูปแบบที่พบบ่อยคือ Plaque psoriasis ผู้ป่วยร้อยละ 80 ที่เป็นเรื้อนกวางจะเป็นชนิดนี้ ตำแหน่งที่พบได้คือบริเวณผิวหนังทุกแห่ง เช่น เข่า ศอก หนังศีรษะ ลำตัว เล็บ
อาการ
อาการมักจะค่อยๆเกิด และเป็นๆหายๆ ปัจจัยที่ทำให้โรคกำเริบได้แก่การได้รับบาดเจ็บของผิวหนัง เช่นการเกา ผิวไหม้จากแดด การติดเชื้อไวรัส แพ้ยา
1.ผิวหนัง เริ่มเป็นผื่นเล็กๆสีแดง มีขอบชัดเจน
รูปร่างอาจจะทรงกลมหรือรูปไข่ และมีขุยหรือสะเก็ดสีขาวเงิน ซึ่งค่อนข้างติดแน่น เมื่อแกะขุยจะมีเลือดออกเล็กๆ ผื่นอาจจะขยายวงกว้างออกไปรูปร่างของผื่นมีได้หลายรูปแบบ
2.เล็บ ลักษณะเล็บจะเป็นหลุมเรียก pitted nail
หรือมีการหนาตัวอยู่ใต้เล็บ subungal
keratosis ถ้าเป็นมากผุทั้งเล็บ
3.ข้อ มีอาการปวดข้อภายหลังจากมีอาการทาง
ผิวหนัง ข้อที่ปวดมักเป็นข้อเล็กๆเริ่มที่ปลายนิ้ว
มือ เท้า มักเป็นสองข้าง บางครั้งอาจเป็นข้อใหญ่
ชนิดและความรุนแรงของโรค
1.Plaque
โรคสะเก็ดเงินชนิดนี้พบบ่อยที่สุด ลักษณะจะเป็นผิวหนังที่มีผื่นแดง นูนหนามีขอบชัดเจน บนผื่นจะมีสะเก็ดขาวเหมือนเงินอยู่บนผื่น สะเก็ดนี้เป็นเซลล์ผิวหนังซึ่งตายแล้ว ผิวหนังบริเวณผื่นมักจะแห้ง คัน และเกิดเป็นแผลได้ง่าย
2.Guttate
ลักษณะผื่นจะเหมือนรูปหยดน้ำเล็กๆเป็นหยดๆ สีแดง ผื่นนี้จะพบมากบริเวณลำตัวและแขนขา ผื่นจะไม่หนาเหมือนกับชนิด plaque มักจะพบในเด็กและวัยรุ่นโดยมีการติดเชื้อของผิวหนังเป็นตัวกระตุ้น
3.Inverse
สะเก็ดเงินชนิดนี้มักจะพบในคนอ้วน ที่มีเหงื่อออกมาก และมีการระคายเคือง มักพบบริเวณข้อพับ เช่นขาหนีบ รักแร้ เต้านม ก้น ลักษณะผื่นจะราบเรียบ มีการอักเสบแดง ผิวแห้ง ไม่มีขุยและหนาตัวเหมือนชนิด plaque
4.Erythrodermic
เป็นการอักเสบของสะเก็ดเงิน เป็นชนิดที่พบน้อยที่สุดมักพบในผู้ป่วยที่เป็นโรคสะเก็ดเงินที่ผื่นสะเก็ดเงินหลุดง่ายผื่นชนิดนี้จะมีลักษณะแดง กระจายไปทั่วและมักจะมีอาการบวม ปวด และคันร่วมด้วย 5.Generalized Pustular
ผื่นสะเก็ดเงินจะแดงทั่วไป มีอาการบวมและปวด จะมีตุ่มหนองเกิดขึ้น ตุ่มหนองนี้มิใช่เกิดจากการติดเชื้อ เมื่อแผลแห้งแล้วก็กลับมาเป็นหนองได้อีก 6.Localized Pustular
เป็นตุ่มหนองที่เกิดเฉพาะบริเวณมือและเท้าจะมีลักษณะเป็นตุ่มหนองขนาดครึ่งเซนติเมตรอยู่บนผื่นที่มือและเท้า
วันอังคารที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2552
Herpes zoster
วันจันทร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2552
statin for everyone ?
DM c HD must need statin
วันอาทิตย์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2552
วันพฤหัสบดีที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552
น้ำกัดเท้า โรคพบบ่อยหน้าฝน
แพทย์หญิงพิมลพรรณ กฤติยรังสรรค์
แม้ว่าจะกันฝนได้ แต่กันไม่ให้เท้าเปียกน้ำไม่ได้ ถ้าฝนตกหนัก ต้องเดินย่ำน้ำสกปรกตามพื้นถนนไปทำงานหรือกลับบ้านติดต่อกันหลายวันในช่วงหน้าฝน นอกจากเท้าจะชื้นหรือเปื่อยแล้ว ยังอาจจะติดเชื้อโรค ซึ่งปะปนอยู่ในน้ำสกปรกได้ ถ้าจำเป็นต้องย่ำน้ำ หลังจากเข้าบ้านแล้วควรรีบล้างเท้าทำความสะอาด แล้วเช็ดให้แห้งโดยเฉพาะตามซอกนิ้วเท้า หากเท้ามีบาดแผล ควรชะล้างด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ ก็จะช่วยป้องกันโรคน้ำกัดเท้าได้ โรคน้ำกัดเท้าในระยะแรกนี้ ยังไม่มีเชื้อรา เป็นเพียงอาการระคายเคืองจากความเปียกชื้นและสิ่งสกปรกในน้ำ ทำให้เท้าเปื่อย ลอก แดง คันและแสบ การรักษาในระยะนี้ควรใช้ยาทาสเตียรอยด์อ่อนๆ ไม่จำเป็นต้องใช้ยาฆ่าเชื้อรา ซึ่งจะทำให้เกิดอาการระคายเคืองและแสบมากขึ้น
ถ้าผิวเปื่อยเป็นแผล เมื่อสัมผัสกับสิ่งสกปรกที่เจือปนอยู่ในน้ำ จะเกิดการติดเชื้อได้ง่าย เมื่อมีการติดเชื้อแบคทีเรีย จะทำให้เกิดอาการอักเสบ บวมแดง เป็นหนองและปวด ต้องให้การรักษาโดยการรับประทานยาปฏิชีวนะร่วมกับการชะล้างบริเวณแผลด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ เช่นน้ำด่างทับทิม แล้วทาด้วยยาฆ่าเชื้อ หรือยาปฏิชีวนะ
โรคน้ำกัดเท้า ในระยะแรกเป็นแค่ผิวแดงลอกจากการระคายเคือง เมื่อผิวลอกเปื่อยและชื้นอยู่นาน จะมีการติดเชื้อรา โรคเชื้อราที่ซอกเท้าอาจเกิดขึ้นหลังจากน้ำกัดเท้าอยู่บ่อยๆ เป็นเวลานาน เชื้อราจะเข้าไปฝังตัวอยู่ในผิวหนัง เมื่อเป็นเชื้อราแล้วจะหายยาก ถึงแม้จะใช้ยาทาจนดูเหมือนหายดี แต่มักจะมีเชื้อหลงเหลืออยู่ เมื่อเท้าอับชื้นขึ้นเมื่อใด ก็จะเกิดเชื้อราลุกลามขึ้นมาใหม่ ทำให้เกิดอาการเป็นๆ หายๆ เป็นประจำ ไม่หายขาด การดูแลป้องกันโรคเชื้อราที่เท้าไม่ให้กลับเป็นซ้ำอีกจึงมีความสำคัญ การรักษาความสะอาดให้เท้าแห้งอยู่เสมอ โดยการล้างน้ำฟอกสบู่ และเช็ดเท้าให้แห้ง โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษที่บริเวณซอกนิ้วเท้า เมื่อเช็ดให้แห้งแล้ว ให้ทายารักษาโรคเชื้อรา แต่ถ้ามีอาการรุนแรงและเรื้อรัง ทายาไม่ได้ผล อาจต้องพบแพทย์ ไม่ควรซื้อยารับประทานเองซึ่งอาจจะมีผลข้างเคียงต่อตับไต และควรรักษาอย่างต่อเนื่อง ไม่ควรหยุดใช้ยาเองแม้ว่าจะดีขึ้น การหยุดยาเร็วเกินไปขณะที่เชื้อยังไม่หมด มีโอกาสกลับเป็นซ้ำอีกได้ง่าย
วันจันทร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2552
วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2552
วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2551
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ.2551
โดยสมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย
Thai Hypertension Society: Guidelines in the Treatment of Hypertension 2008
Hypertension (ความดันโลหิตสูง)
หมายถึงระดับความดันโลหิต 140/90 มม.ปรอท หรือมากกว่าซึ่งจะเป็นค่าบนหรือค่าล่างก็ได้
Isolated systolic hypertension
หมายถึงระดับความดันโลหิตตัวบน 140 มม.ปรอทหรือมากกว่า แต่ระดับความดันโลหิตตัวล่างต่ำกว่า 90 มม.ปรอท
สิ่งที่ต้องตรวจทางห้องปฏิบัติการ (รพ.ตำบล screen พบ HT ส่งพบแพทย์เริ่มยา)
ข้อแนะนำในการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ให้ตรวจเมื่อแรกพบผู้ป่วยและตรวจซ้ำปีละครั้ง หรืออาจส่งตรวจบ่อยขึ้นตามดุลยพินิจของแพทย์ หากพบความผิดปกติ
1. Fasting plasma glucose
2. Serum total cholesterol, HDL-C, LDL-C, triglyceride
3. Serum creatinine
4. Serum uric acid
5. Serum potassium (electrolye)
6. Estimated creatinine clearance
7. Hemoglobin และ hematocrit
8. Urinalysis (dipstick test และ urine sediment)
9. EKG
การใช้ยาลดความดันโลหิต
พิจารณาเริ่มใช้ยาลดความดันโลหิต ในการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทันที เมื่อผู้ป่วยถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดเท่านั้น (แผนภูมิที่ 1)
เป้าหมายของการลดความดันโลหิต
1. ในผู้ป่วยทั่วไปให้ BP < size="4">ปรอท
หลักการใช้ยาลดความดันโลหิต
1. แพทย์สามารถเริ่มใช้ยาลดความดันโลหิตได้ทุกขนาน เนื่องจากผลดีเกิดจากการลดความดันโลหิตเป็นหลัก ยา 4 กลุ่มต่อไปนี้ เป็นยาที่นิยมใช้กันทั่วโลก และมีหลักฐานสนับสนุนถึงผลดีในระยะยาว
- Diuretics
- Calcium channel blockers (CCBs)
- Angiotensin converting enzyme inhibitors (ACE-inhibitors)
- Angiotensin receptor blockers (ARBs)
ไม่แนะนำให้ใช้ยา alpha-blockers เป็นยาขนานแรก ยกเว้นในผู้ป่วยที่มีต่อมลูกหมากโตแต่สามารถใช้ยานี้ร่วมกับยาลดความดันโลหิตกลุ่มข้างต้นดังกล่าวได้
beta-blockers ก็เช่นเดียวกันจะใช้เป็นยาขนานแรก ก็ต่อเมื่อมีข้อบ่งชี้เท่านั้น เช่น post-myocardial infarction หรือพวกที่มี tachyarrhythmia เป็นต้น
ส่วนยาลดความดันโลหิตอื่นๆ ที่ยังใช้อยู่ เช่น methyldopa, clonidine, reserpine สามารถใช้ได้เนื่องจากราคาถูกมีประสิทธิภาพในการลดความดันโลหิตได้ดี แต่มีฤทธิ์ข้างเคียงค่อนข้างมาก และมีการศึกษาดูผลในระยะยาวน้อย
2. การจะเริ่มใช้ยากลุ่มใดก่อน ปัจจุบันไม่ค่อยมีปัญหาแล้ว เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะต้องใช้ยาตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปเพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตให้ถึงเป้าหมาย และมีแนวโน้มจะเปลี่ยนไปใช้ยาที่เป็น fixed dose combination ในเม็ดเดียวกัน เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถรับประทานยาได้ครบตามแพทย์สั่ง
3. ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความดันโลหิตเริ่มต้นสูงกว่าค่าปกติ > 20/10 มม.ปรอท ให้เริ่มใช้ยาลดความดันโลหิต 2 ขนานได้ทันที
4. กลุ่มยาที่สามารถเสริมฤทธิ์กันได้เมื่อใช้ร่วมกันดังรูป
หมายเหตุ ยา 5 กลุ่มที่นิยมใช้เป็นยาเริ่มต้นและใช้ได้ในระยะยาว (ในกรอบ) ยาที่นิยมใช้ควบกันและเสริมฤทธิ์กัน (เส้นทึบ) ยาที่ใช้ร่วมกันน้อยเพราะไม่เสริมฤทธิ์กัน (เส้นประ) CCBs เฉพาะกลุ่ม dihydropyridine เท่านั้นที่ใช้ควบกับ b-blockers ได้
5. ยาบางกลุ่มมีผลการศึกษาที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่าเป็นประโยชน์ในระยะยาวกับผู้ป่วยบางกลุ่ม
ในเรื่องของการลดอัตราการตายและทุพพลภาพ (ตารางที่ 4)
ตารางที่ 4 ยาลดความดันโลหิตที่มีข้อบ่งชี้ในการใช้ชัดเจน
หมายเหตุ ในกรณีที่ไม่สามารถใช้ยา ACE inhibitors ได้ให้ใช้ angiotensin receptor blockers แทน
5. กลุ่มของยาลดความดันโลหิตต่างๆ มีฤทธิ์ข้างเคียงจำเพาะและมากน้อยต่างกัน และมีข้อห้ามหรือข้อควรระวังต่างกัน ซึ่งแพทย์สามารถเลือกใช้ได้ (ตารางที่
ความถี่ในการติดตามผู้ป่วยจะขึ้นกับระดับความดันโลหิตที่วัดได้ตอนเริ่มแรก (ตารางที่ 6)
ตารางที่ 6 ระยะเวลาในการติดตามผู้ป่วยตามระดับความรุนแรงของความดันโลหิต
การปรับลดขนาดหรือจำนวนยา
จะกระทำได้ต่อเมื่อสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นเวลาอย่างน้อย 1 ปี โดยค่อยๆ ลดขนาดยาหรือถอนยาออกอย่างช้าๆ ซึ่งมักจะทำได้ในผู้ป่วยที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแล้ว บางรายอาจถอนยาได้หมด ซึ่งก็ควรติดตามผู้ป่วยนั้นต่อไปเนื่องจากความดันโลหิตอาจสูงขึ้นอีกในระยะเป็นเดือนหรือเป็นปีหลังหยุดยา โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ไม่สามารถคงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไว้
ข้อแนะนำในการทำให้ผู้ป่วยติดตามการรักษาอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
1. ให้สังเกตสิ่งบอกเหตุที่บ่งชี้ว่าผู้ป่วยจะไม่ติดตามการรักษาและรับประทานยาต่อเนื่อง
2. ตั้งเป้าหมายของการรักษา กล่าวคือลดระดับความดันโลหิตลงให้เป็นปกติ โดยให้เกิดฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์จากยาน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย
3. ติดต่อกับผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอ โดยพิจารณาเยี่ยมบ้าน เป็นต้น
4. พยายามทำให้การดูแลผู้ป่วยไม่แพงและเรียบง่าย
5. ส่งเสริมการปรับพฤติกรรม
6. พยายามสอดแทรกการรับประทานยาเข้าไปในกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย
7. ให้พิจารณาใช้ชนิดของยาตามหลักเภสัชศาสตร์ ปัจจุบันนิยมให้ยาที่ออกฤทธิ์ยาว
8. ให้พิจารณาหยุดการรักษาที่ไม่ประสพผลสำเร็จและหาทางเลือกอื่น
9. ให้คำนึงถึงฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ของยา โดยปรับชนิดของยาและให้ยาที่จะป้องกันหรือก่อให้เกิดฤทธิ์ไม่พึงประสงค์น้อยที่สุด
10. ค่อยๆ เพิ่มขนาดยาที่มีประสิทธิภาพและไม่ก่อให้เกิดฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์จนได้ขนาดยาที่เพียงพอเพื่อให้ได้ระดับความดันโลหิตเป้าหมาย
11. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยและญาติมีทัศนคติที่ดีและความเข้าใจถูกต้องต่อการรักษาตลอดจนถึงความสำคัญที่จะต้องควบคุมให้ได้ถึงระดับความดันโลหิตเป้าหมาย
12. พิจารณาให้บุคลากรทางการแพทย์ที่ได้รับการฝึกอบรมอย่างดีแล้วมาช่วยในกระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วย
เอกสารอ้างอิง
1. World Health Organization, International Society of Hypertension Writing Group. 2003 World Health Organization (WHO)/International Society of Hypertension (ISH) statement on management of hypertension. J Hypertens 2003;21:1983-1992.
2. The Task Force for the Management of Arterial Hypertension of the European Society of Hypertension (ESH) and of the European Society of Cardiology (ESC). 2007 Guidelines for the Management of Arterial Hypertension. J Hypertens 2007;25:1105-1187.
3. The JNC 7 Report. The Seventh Report of the Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation and Treatment of High Blood Pressure. JAMA 2003;289:2560-2572.
4. Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation and Treatment of High Blood Pressure. The Sixth Report of the Joint National Committee on Prevention, Detection, Evaluation and Treatment of High Blood Pressure. Arch Intern Med 1997;157:2413-2446.
วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2552
วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552
Peritonitis
A teenage boy visit ER with evolve abdomimal pain 3hr before.He doesn' t have fever.
He deny underlying disease.
2 yrs ago he had appendectomy at surin Hospital .
PE
A teenage boy looked distress by pain
Lieing on bed
BP 120/80 PR 94 BT 37.5 RR 20
HEENT Normal
Heart and lung audible S1 S2 no murmur , normal breath sound
Abd : Boardlike rigidity
generalized tender , rebound positive
Resonance on percussion RUQ
PR : Normal
LAB : CBC Hct 37.0 wbc 12,000 PMN 78 Lymphocyte 20 Mono 2 plt 160,000
Film acute abdomen series : free air of Rt diaphram
Peritonitis
Peritonitis is defined as inflammation of peritoneum.it may be localised or generalized,generally has an acute course,and may depended on either infection(often due to rupture of hallow organ as may occur inabdominal trauma) or non infection process
Three type of peritonitis
1. Primary(spontaneous)
2. Secondary (anatomic)
3. tertiary (peritoneal dialysis related)
Mechanisms and manifestations
Abdominal pain and tenderness
The main manifestations of peritonitis are acute abdominal pain, abdominal tenderness, and abdominal guarding, which are exacerbated by moving the peritoneum, e.g. coughing, flexing the hips, or eliciting the Blumberg sign (a.k.a. rebound tenderness, as the peritoneum snaps back into place). The presence of these signs in a patient is sometimes referred to as peritonism.[1]
The localization of these manifestations depends on whether peritonitis is localized (e.g. appendicitis or diverticulitis before perforation), or generalized to the whole abdomen. In either case pain typically starts as a generalized abdominal pain (with involvement of poorly localizing innervation of the visceral peritoneal layer), and may become localized later (with the involvement of the somatically innervated parietal peritoneal layer). Peritonitis is an example of an acute abdomen.
Causes
Infected peritonitis
Perforation of a hollow viscus is the most common cause of peritonitis. Examples include perforation of the distal oesophagus (Boerhaave syndrome), of the stomach (peptic ulcer, gastric carcinoma), of the duodenum (peptic ulcer), of the remaining intestine (e.g. appendicitis, diverticulitis, Meckel diverticulum, inflammatory bowel disease (IBD), intestinal infarction, intestinal strangulation, colorectal carcinoma, meconium peritonitis), or of the gallbladder (cholecystitis).
Other possible reasons for perforation include abdominal trauma, ingestion of a sharp foreign body (such as a fish bone, toothpick or glass shard), perforation by an endoscope or catheter, and anastomotic leakage.
The latter occurrence is particularly difficult to diagnose early, as abdominal pain and ileus paralyticus are considered normal in patients who just underwent abdominal surgery.
In most cases of perforation of a hollow viscus, mixed bacteria are isolated; the most common agents include Gram-negative bacilli (e.g. Escherichia coli) and anaerobic bacteria (e.g. Bacteroides fragilis). Fecal peritonitis results from the presence of faeces in the peritoneal cavity. It can result from abdominal trauma and occurs if the large bowel is perforated during surgery.
Disruption of the peritoneum, even in the absence of perforation of a hollow viscus, may also cause infection simply by letting micro-organisms into the peritoneal cavity. Examples include trauma, surgical wound, continuous ambulatory peritoneal dialysis, intra-peritoneal chemotherapy. Again, in most cases mixed bacteria are isolated; the most common agents include cutaneous species such as Staphylococcus aureus, and coagulase-negative staphylococci, but many others are possible, including fungi such as Candida.
Spontaneous bacterial peritonitis (SBP) is a peculiar form of peritonitis occurring in the absence of an obvious source of contamination. It occurs either in children, or in patients with ascites. See the article on spontaneous bacterial peritonitis for more information.
Systemic infections (such as tuberculosis) may rarely have a peritoneal localisation.
Non-infected peritonitis
Treatment
Depending on the severity of the patient's state, the management of peritonitis may include:
General supportive measures such as vigorous intravenous rehydration and correction of electrolyte disturbances.
Antibiotics are usually administered intravenously, but they may also be infused directly into the peritoneum. The empiric choice of broad-spectrum antibiotics often consist of multiple drugs, and should be targeted against the most likely agents, depending on the cause of peritonitis (see above); once one or more agents are actually isolated, therapy will of course be targeted on them.
Surgery (laparotomy) is needed to perform a full exploration and lavage of the peritoneum, as well as to correct any gross anatomical damage which may have caused peritonitis.[2] The exception is spontaneous bacterial peritonitis, which does not benefit from surgery. http://en.wikipedia.org/wiki/Peritonitis
วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2552
HOS TUMBONE 18-08-52
27 สิงหาคม 2552 พ.วุฒิชัย นำเสนอตารางการปฐมนิเทศ ให้ผู้อำนวยการ
28 สิงหาคม 2552 คุณเพชรรัตน์ ส่งตารางการปฐมนิเทศบุคคลากรให้โรงพยาบาลตำบล
1 กันยายน 2552 ปฐมนิเทศเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลตำบล รับนโยบายจากผู้อำนวยการ
10 กันยายน 2552 คณะกรรมการต่าง ๆ ส่งกรอบงานต่าง ๆ ให้คุณเพชรรัตน์ นำเสนอผู้อำนวยการ
22 กันยายน 2552 คณะกรรมการนำเสนอกรอบในที่ประชุม
ติดตามงาน IT
(เสนอการประชุมประจำเดือนแบบสัญจร)
วันจันทร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2552
care your plant in workplace
วันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2552
CPG DM In PCU
1.อัตราการคัดกรองประชาชนอายุ ≥ 35 ปี ขึ้นไป > 80 %
2.อัตราป่วย <4.6>
การดูแลในชุมชน (PCU)
1. ส่งเสริมสุขภาพในคนปกติที่ไม่เป็นโรค โดยส่งเสริมการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับวัย เช่น การวิ่ง แอร์โรบิก เดิน ในหมู่บ้าน เน้นการสร้างสุขภาพ ซึ่งประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการออกกำลังกาย ให้ความรู้เรื่องอาหาร การรณรงค์งดสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้น มี อสม. รับผิดชอบดูแลโซน ซึ่งเป็นเสมือนทีมสุขภาพประจำหมู่บ้าน คอยให้ความช่วยเหลือ ให้การปรึกษา ดูแลและค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ผู้เป็นกลุ่มเสี่ยง และร่วมกับเจ้าหน้าที่ในการจัดกิจกรรม ส่งเสริม ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง เพื่อป้องกันการเป็นเบาหวาน
2. คัดกรองประชากรที่มีอายุมากกว่า 35 ปี และกลุ่มเสี่ยง
ผลตรวจระดับน้ำตาลได้น้อยกว่า 100 mg% ให้ความรู้ทั่วไปและนัดเจาะเลือดซ้ำอีก 1 ปี
กรณีที่ระดับน้ำตาล ≥100-125 mg%ให้ความรู้ คำแนะนำ เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นัดเจาะเลือดซ้ำอีก 1 เดือน และติดตามทุก 6 เดือน
กรณีที่ระดับน้ำตาล≥126 mg% ส่งพบแพทย์ที่โรงพยาบาล เพื่อให้การรักษาและนัด ติดตามทุก 1 เดือนที่ PCU และ ส่งพบแพทย์ที่โรงพยาบาลทุก 6 เดือน หรือพบแพทย์เมื่อมีอาการก่อนนัด
จากนี้ยังมีการลดขั้นตอนในการมาพบแพทย์ โดยตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ก่อนมาพบเจ้าหน้าที่ที่ PCU
3. ติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้เป็นเบาหวาน สำรวจ ปัจจัย สภาพแวดล้อมที่บ้าน เพื่อได้ทราบถึงวิถีชีวิต และบริบทของผู้เป็นเบาหวานแต่ละราย ตลอดทั้งตรวจหาระดับน้ำตาล ภายหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล เพื่อประเมินผลการดูแลตนเองของผู้เป็นเบาหวาน และผู้ป่วยที่ขาดนัด พร้อมทั้งส่งข้อมูลกลับมายังโรงพยาบาล
วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552
รพ.ตำบล......หนทางที่ต้องเผชิญ
1 จิดเวชชุมชน
2 ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
3 ค้นหาผู้ป่วย loss f/u เยี่ยมบ้าน case chronic ยากไร้ เงินช่วยเหลือ
4 ผังเครือญาติ แผนที่เดินดิน
5 ที่ฝึกงานของนักเรียน สร้างจิตสำนึกให้นักเรียน รักบ้านเกิด ให้ค่าตอบแทนบ้าง
อ ส ม คัดกรอง เบาหวาน ความดัน
IT
Internet high speed
ก่อตั่ง โรงพยาบาลตำบล
เชิญแต่ละแห่งมาร่วมเปิด ร่วมสร้าง
นวัตกรรม
เครื่องมือประยุกต์ ใน chronic แคร่ เครื่องทำกายภาพบำบัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล
นำแนวความคิดของ อ.นพ.พงศ์พิชญ์ วงศ์มณี อ.เกษร วงศ์มณี จากแนวคิดโรงพยาบาลตำบลมาเป็นแม่แบบ
นำเป็นนโยบายการเมืองสู่การปฏิบัติ ถ้าใช้ชื่อโรงพยาบาลตำบลชาวบ้านจะนึกถึงสถานบริการต้องมีแพทย์ ทำให้กระทรวงเปลี่ยนแนวคิดเป็นโรงพยาบาลส่งเสิมสุขภาพระดับตำบลที่เน้นการทำงานส่งเสริมสุขภาพเป็นหลักภายใตการทำงานแบบสหวิชาชีพดูแลสุขภาพแบบการพึ่งตนเอง และครอบคลุม ทั้ง 4 มิติ กาย ใจ สังคม จิตวิญญาณ ความเชื่อ และวัฒนธรรมประเพณี
แนวคิดการดำเนิงานคือการใช้บ้านคือเตียงนอนผู้ป่วย(Home Ward) ใช้เครื่องมือที่สำคัญคือ “เวชศาสตร์ครอบครัว”เป็นเข็มมุ่งทิศทำงาน สร้างศรัทธาและความไว้วางใจ สร้างสัมพันธ์ระหว่างทีมสุขภาพกับประชาชน เรียนรู้ชุมชนและ ศักยภาพของชุมชน เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม (patnership)จัดระบบบริการสุขภาพตนเอง โดยการลงขัน 2 บาท และเข้ามามีส่วนร่มบริหารจัดการกองทุนสุขภาพที่ร่วมลงขัน
ขั้นต้อนการทำงาน
1.สร้างแนวคิดกับแกนนำชุมชน ได้แก่ นายก อบต. กำนัน ผู้นำความคิดในชุมชนเพื่อขับเคลือน โดยการศึกษาดูงาน บรรยายจากผู้มีประสบการณ์
2. ประชาคมชาวบ้านประชาชนทุกหมู่บ้าน
3. ระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาศักยภาพ
4. พัฒนาศักยภาพสถานบริการ ด้านการบริการ ด้านกำลังคน ด้านอาคารสถานที่ เพื่อความเป็นเลิศไม่ว่าด้านบริการ ด้านชุมชน
5. บริหารจัดการภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน
Necrotizing fasciitis
Necrotizing fasciitis can occur after trauma or around foreign bodies in surgical wounds, or it can be idiopathic, as in scrotal or penile necrotizing fasciitis.
These infections can be difficult to recognize in their early stages, but they rapidly progress.
The causative bacteria may be aerobic, anaerobic, or mixed flora, and the expected clinical course varies from patient to patient.
Adult
8-10 million U/d IV divided q4-6h
Pediatric
500,000-800,000 U/kg/d IV divided q4-6h
600 mg IV q6h
Pediatric
5 mg/kg IV q6h
Loading dose: 15 mg/kg or 1 g for 70-kg adult IV over 1 hMaintenance dose: 6 h following loading dose; infuse 7.5 mg/kg or 500 mg IV for 70-kg adult over 1 h q6-8h; not to exceed 4 g/d
Pediatric
15-30 mg/kg/d IV divided bid/tid; not to exceed 2 g/d
1-2 g IV qd or divided bid
Pediatric
75 mg/kg/d IV divided bid
บทคัดย่อและคำสำคัญ (Abstract and Keyword)
เอกสารลำดับที่ :
2139
Full text Online :
Download เอกสารฉบับสมบูรณ์
ได้ศึกษาจากรายงานผู้ป่วยจำนวน 8 ราย ที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น cervicofacial necrotizing fasciitis ในโรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึงปี พ.ศ. 2550 พบว่าผู้ป่วย 4 ราย (50%) มีสาเหตุจากฟันผุและผู้ป่วย 2 ราย (25%) มีสาเหตุจากฝีที่ต่อมน้ำลายหน้าหู ผู้ป่วยส่วนมากมีปัญหาด้านสุขภาพ คือ โรคเบาหวานและภาวะขาดสารอาหารร่วมด้วย อาการแสดงทางคลินิก ผู้ป่วยจะมีไข้สูง ก้อนที่คอกดเจ็บ และตรวจพบ soft tissue crepitation ได้ในผู้ป่วย 5 ราย (63%) ผู้ป่วย 4 รายมีอาการแสดงของภาวะ sepsis เชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุด คือ Streptococcus sp. เช่นเดียวกับรายงานอื่น แนวทางการรักษาประกอบด้วยการให้ยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดำหลายชนิดที่ครอบคลุมเชื้อต่างๆ การผ่าตัดเพื่อระบายหนองและตัดเนื้อเยื่อที่อักเสบและเน่าตาย การเฝ้าระวังและรักษาโรคแทรกซ้อนรวมทั้งการผ่าตัดซ้ำหลายครั้งเพื่อตัดเนื้อเยื่อที่อักเสบและเน่าตายออกมีความสำคัญในการช่วยลดอัตราการเสียชีวิต ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดซ้ำโดยเฉลี่ย 3 ครั้ง มีผู้ป่วย 1 ราย เกิดโรคแทรกซ้อนที่รุนแรง คือ mediastinitis อัตราเสียชีวิตร้อยละ 13
คำสำคัญไทย :
cervicofacial necrotizing fasciitis, อาการแสดงทางคลินิก, แนวทางการรักษา
English Abstract :
A retrospective study of 8 cervicofacial necrotizing fasciitis patients presented at Nakornping Hospital between 2002 to 2007 was carried out and showed dental origin in 4 cases (50%) and parotid abscess in 2 cases (25%). Ascociated diseases were diabetes mellitus and hypoalbuminemia. Clinical manifestations were neck mass and inflammation skin. Five patients (63%) of cases were positive for soft tissue crepitation. Four patients had sepsis at first presentation. All of pus cultures were positive and the most common bacteria was Streptococcus sp. Treatment included administration of broad spectrums intravenous antibiotics and surgical debridement. Frequent neck debridement was necessary to decrease mortality. One case severe complication with a of mediastinitis was reported. This study show 13% mortality rate.
English Keyword:
cervicofacial necrotizing fasciitis, clinical manifestations clinical, management
วันศุกร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552
H1N1 hot hit
1. หากมีอาการป่วยไม่รุนแรง เช่น ไข้ไม่สูง และรับประทานอาหารได้ สามารถดูแลอาการด้วยตนเองที่บ้านได้ ควรให้พาราเซตามอลเพื่อลดไข้ (ห้ามใช้ยาแอสไพริน) นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
2. หยุดเรียน หยุดงาน จนกว่าจะหายเป็นปกติ และหลีกเลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชิดใช้สิ่งของร่วมกับผู้อื่นหรือออกไปในที่ชุมชน เพื่อลดการแพร่เชื้อ
3. ใช้กระดาษทิชชู ผ้าเช็ดหน้า ปิดปากและจมูกทุกครั้งที่ไอ จาม ล้างมือบ่อยๆ ด้วยน้ำและสบู่ หรือใช้แอลกอฮอล์เจลทำความสะอาดมือและสวมหน้ากากอนามัยเมื่อจำเป็นต้องอยู่กับผู้อื่น
4. ควรให้ผู้ป่วยแยกห้องเป็นสัดส่วน และอยู่ในที่มีอากาศถ่ายเทได้
5. หากอาการไม่ดีขึ้นเช่น ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอมากขึ้น เจ็บหน้าอก เหนื่อย อาเจียนมาก รับประทานอาหารได้น้อย ซึม เป็นต้น ควรรีบไปพบแพทย์
6. ผู้ดูแลผู้ป่วยควรล้างมือบ่อยๆ หรือใช้หน้ากากอนามัย
คำแนะนำสำหรับประชาชนทั่วไป
1. ล้างมือบ่อยๆด้วยน้ำ และสบู่ หรือใช้แอลกอฮอล์เจลทำความสะอาดมือ
2. ไม่ใช้สิ่งของ เช่น แก้วน้ำ หลอดดูดน้ำ ช้อนอาหาร ผ้าเช็ดมือ ผ้าเช็ดตัว เป็นต้น ร่วมกับผู้อื่น
3. ไม่ควรคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการไข้หวัด
4. กินอาหารที่มีประโยชน์ เน้นผัก ผลไม้ นม ไข่ ทานอาหารปรุงสุกใหม่ๆ และ ใช้ช้อนกลาง นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
5. ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่มีผู้คนแออัดและอากาศถ่ายเทไม่ดีเป็นเวลานาน โดยไม่จำเป็น
6. ผู้มีโรคประจำตัว เช่น โรคปอด หอบหืด เบาหวาน โรคไต มีครรภ์ โรคอ้วน ทาลัสซีเมีย ภูมิต้านทานต่ำ ตั้งครรภ์ อายุต่ำกว่า 2 ปี หรือมากกว่า 65 ปี เป็นหวัดต้องพบแพทย์ทันที
7. ผู้มีโรคประจำตัว เช่น โรคปอด หอบหืด เบาหวาน โรคไต มีครรภ์ โรคอ้วน กินยากดภูมิต้านทาน ต้องแจ้งให้แพทย์ทราบทันที
Cosmetic dermatology book
Aloepecia areata
A girl complian with hair loss about 1 month ago.she deny febrile arthralgia or sickness before.no underlying disease.and deny disorder in her family.
Physical examination
A girl looked anxiues .good mental screening.
Not pale, no jaundice,no Beau’s line or pitted nail.thyroid not enlarge
No lymphadenopathy,liver and spleen impalpable.
No vitiligo
ผู้ป่วยรายนี้มาด้วย non scaring alopecia ลักษณะผมร่วงเป็นย่อม ๆ เข้าได้กับ Alopecia areata มากที่สุด อื่นที่ต้องซักประวัติคือ fungal infection bacterial infection chemical ผลการกระทำของตนเอง เช่น Trichotillomania ความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ systemic disease
Approach alopecia
สาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าเกิดจาก autoimmune พบว่าประมาณ 1 % ของผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ด้วยโรคผิวหนังเป็นโรคนี้ พบในผู้ป่วยอายุ 20 -30 ปี ในระยะ active บริเวณรอบ ๆ จะดึงหลุด ส่วนบริเวณอื่นดึงไม่หลุด ตรวจเล็บอาจพบ pitted nail หรือ dystrophic nail
การรักษา
ส่วนใหญ่หายเองภายใน 1 ปี แต่ประมาณ 30 – 40 % ของผู้ป่วยเกิดโรคซ้ำ
การรักษาอาจใช้ potent steroid หรือ intralesional steroid ไม่เกิน 20 mgต่อครั้ง ทุก 4-6 wks นอกจากนี้อาจรักษาโดย PUVA ทา minoxidil
......................
วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2552
10 สัญญาณที่บอกว่า เขากำลังจะทิ้งคุณแล้ว
2. เขาเก็บข้าวของทุกอย่างที่คุณทิ้งไว้ที่บ้านเขาใส่กล่อง และเก็บไว้ที่ชั้นล่างสุดของตู้เสื้อผ้า โดยให้เหตุผลว่า "จะได้แน่ใจว่าไม่มีอะไรหาย"
3. คุณเพิ่งไปเห็นว่าของขวัญวันครบรอบราคาแพงที่คุณให้เขา ไปประกาศขายอยู่ในอีเบย์
4. เพื่อนๆ คุณทำเป็น "แกล้งลืม" หนังสือ เรื่อง He's Just Not That Into You (เขาไม่ได้ชอบคุณขนาดนั้นหรอก) ไว้ที่บ้าน และก็ไม่ยอมเอาคืนจนกว่าคุณจะอ่านจบ
5. หลังจากที่คุณบอกเขาว่าเขาจะทำอะไรก็ได้ เขาแว้ดกลับมาว่า "ทำไมคุณถึงได้พยายามจะควบคุมผมนัก"
6. ความคิดเรื่องล้อเล้นสนุกของเขาตอนนี้ คือ การขอเบอร์โทรศัพท์สาวๆ ต่อหน้าต่อตาคุณ
7. เขามักมีเหตุผลในการไม่รับโทรศัพท์และไม่ตอบข้อความ SMS ที่คุณส่งไปหา
8. คุณบอกเขาว่าคุณต้องการความใกล้ชิดและการแสดงความรัก และขาบอกคุณอย่างสุภาพว่า นั้นเป็นจินตนาการไร้สาระแบบเด็ก ๆของคุณ
9.เขามักจะเหนื่อยเมื่อคุณคึก แต่เขากลับไปเที่ยวกับเพื่อนๆ จนถึงตีสี่
10. เขาเริ่มมีธุระไปประชุมหรือสัมมนานอกเมืองนาน ๆ บ่อยขึ้น ทั้ง ๆ ที่เขาไม่ได้ทำงาน และไม่ใช่แค่นั้น เขายังยืนยันที่จะเอาแปรงสีฟันอันที่เขาทิ้งไว้ที่บ้านคุณไปด้วย
วันอังคารที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2552
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล
-เน้นการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระัดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน
- พร้อมกับมีความสามารถในการให้บริการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มขึ้น
ประชาชน
(มุมมองเชิงคุณค่า)
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลสุขภาพ ของประชาชนในชุมชนได้
- ประชาชนมีภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
กระบวนการ
(มุมมองเชิงบริหารจัดการ)
- มีองค์ความรู้นวัตกรรมเทคโนโลยี ที่ทันสมัย ตรงความต้องการของลูกค้า
- การถ่ายทอดองค์ความรู้ / เทคโนโลยี ที่มีมาตรฐานครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
- มีระบบสารสนเทศที่ทันสมัยเข้าถึงได้ง่าย
- มีความสัมพันธ์ที่ดีกับภาคีเครือข่าย
ภาคีเครือข่าย
(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย)
- ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุน การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในพื้นที่
- องค์กรท้องถิ่นเห็นความสำคัญ และ ให้การสนับสนุนทรัพยากรในการส่งเสริมสุขภาพต่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง
- มีเครือข่ายการดำเนินงานในชุมชน
พื้นฐาน
(มุมมองเชิงการเรียนรู้ และพัฒนา)
- ฐานข้อมูลมีประสิทธิภาพ
- องค์กรมีสมรรถนะสูง
1. กระทรวงสาธารณสุขควรปรับกระบวนทัศน์ให้บุคลากรสาธารณสุขเข้าใจหลักการส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพได้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลประยุกต์ใช้แนวคิด และกระบวนการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเพื่อการพัฒนาคุณภาพบริการ
3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพของ กลุ่มวัยต่าง ๆ เช่น คลินิกฝากครรภ์ คลินิกสุขภาพเด็กดี คลินิกวัยรุ่น คลินิก ไร้พุง คลินิกผู้สูงอายุ ควบคู่กับกิจกรรมพัฒนาชุมชน โดยชุมชนและท้องถิ่น มีส่วนร่วมพัฒนา จนเกิดมาตรการสังคมในชุมชน
4. โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน ทำงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อย่างเป็นเครือข่าย ทั้งด้านการให้คำปรึกษาและการส่งต่ออย่างเป็นระบบ
5. การจัดสรรทรัพยากรควรปรับปรุง ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของแต่ละพื้นที่
บุคลากรมีศักยภาพเป็นมืออาชีพ
บริการในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1.คลินิกฝากครรภ์
2. คลินิกเด็กดี และพัฒนาการเด็ก
3. คลินิกวัยรุ่น และให้คำปรึกษา
4. คลินิกวางแผนครอบครัว
5. คลินิกไร้พุง
6. คลินิกผู้สูงอายุ
7. การเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ
8. อนามัยโรงเรียน
9. การทำแผนชุมชน กิจกรรมชุมชน พัฒนาชุมชน ชมรมสร้างสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ ชมรมเด็กไทยทำได้
ประชาชนได้อะไร
- ความครอบคลุม (coverage) ของบริการขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น
- การให้วัคซีน
- การฝากครรภ์ ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
- คุณภาพชีวิต (Quality of life) ของประชาชนดีขึ้น
- อัตราทารกตาย และ แม่ตายลดลง
- การเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชนในระดับตำบลดีขึ้น
—ลดความแออัดของโรงพยาบาลแม่ข่ายลง
—จำนวนผู้ป่วย ข้ามจากตำบลมาโรงพยาบาลอำเภอ/จังหวัดลดลง
—การนอนโรงพยาบาลจากโรคแทรกซ้อนหรือโรคป้องกันได้ลดลง
- มีการค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มมากขึ้น
- ภาวะแทรกซ้อนโรคเรื้อรังลดลง
- ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมารับบริการจำนวนเพิ่มขึ้น (คน/ครั้ง)
- อัตราตายลดลง