วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552

รพ.ตำบล......หนทางที่ต้องเผชิญ


งานที่ควรจัดให้มี
1 จิดเวชชุมชน
2 ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
3 ค้นหาผู้ป่วย loss f/u เยี่ยมบ้าน case chronic ยากไร้ เงินช่วยเหลือ
4 ผังเครือญาติ แผนที่เดินดิน
5 ที่ฝึกงานของนักเรียน สร้างจิตสำนึกให้นักเรียน รักบ้านเกิด ให้ค่าตอบแทนบ้าง
อ ส ม คัดกรอง เบาหวาน ความดัน
IT
Internet high speed
ก่อตั่ง โรงพยาบาลตำบล
เชิญแต่ละแห่งมาร่วมเปิด ร่วมสร้าง
นวัตกรรม
เครื่องมือประยุกต์ ใน chronic แคร่ เครื่องทำกายภาพบำบัด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล

นำแนวความคิดของ อ.นพ.พงศ์พิชญ์ วงศ์มณี อ.เกษร วงศ์มณี จากแนวคิดโรงพยาบาลตำบลมาเป็นแม่แบบ
นำเป็นนโยบายการเมืองสู่การปฏิบัติ ถ้าใช้ชื่อโรงพยาบาลตำบลชาวบ้านจะนึกถึงสถานบริการต้องมีแพทย์ ทำให้กระทรวงเปลี่ยนแนวคิดเป็นโรงพยาบาลส่งเสิมสุขภาพระดับตำบลที่เน้นการทำงานส่งเสริมสุขภาพเป็นหลักภายใตการทำงานแบบสหวิชาชีพดูแลสุขภาพแบบการพึ่งตนเอง และครอบคลุม ทั้ง 4 มิติ กาย ใจ สังคม จิตวิญญาณ ความเชื่อ และวัฒนธรรมประเพณี
แนวคิดการดำเนิงานคือการใช้บ้านคือเตียงนอนผู้ป่วย(Home Ward) ใช้เครื่องมือที่สำคัญคือ “เวชศาสตร์ครอบครัว”เป็นเข็มมุ่งทิศทำงาน สร้างศรัทธาและความไว้วางใจ สร้างสัมพันธ์ระหว่างทีมสุขภาพกับประชาชน เรียนรู้ชุมชนและ ศักยภาพของชุมชน เน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วม (patnership)จัดระบบบริการสุขภาพตนเอง โดยการลงขัน 2 บาท และเข้ามามีส่วนร่มบริหารจัดการกองทุนสุขภาพที่ร่วมลงขัน
ขั้นต้อนการทำงาน
1.สร้างแนวคิดกับแกนนำชุมชน ได้แก่ นายก อบต. กำนัน ผู้นำความคิดในชุมชนเพื่อขับเคลือน โดยการศึกษาดูงาน บรรยายจากผู้มีประสบการณ์
2. ประชาคมชาวบ้านประชาชนทุกหมู่บ้าน
3. ระดมทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาศักยภาพ
4. พัฒนาศักยภาพสถานบริการ ด้านการบริการ ด้านกำลังคน ด้านอาคารสถานที่ เพื่อความเป็นเลิศไม่ว่าด้านบริการ ด้านชุมชน
5. บริหารจัดการภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

Forward mail ดีดี

ค้นหาบล็อกนี้