วันอังคารที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2553

วันพุธที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2553

ดูงานต่างประเทศ


ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น หลักสูตร Enhancement of Community Health Systems for Infection Control (A) ระหว่างวันที่ 19 ตุลาคม - 11 ธันวาคม 2553
รับสมัครทุนรัฐบาลญี่ปุ่น หลักสูตร Enhancement of Community Health Systems for Infectious Control (A) ระหว่างวันที่ 19 ตุลาคม - 11 ธันวาคม 2553 หมดเขตส่งใบสมัครวันที่ 26 เมษายน 2553
ประเภททุน:ฝึกอบรม 
แหล่งทุน:รัฐบาลญี่ปุ่น 
ไฟล์เอกสาร:
ไฟล์ชนิดขนาด (ไบท์)วันที่ดาวน์โหลด
ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น.pdf application/pdf 4,029,894 31/03/10 ดาวน์โหลด
ที่มา:สำนักการสาธารณสุขระหว่างประเทศ  
โทรศัพท์ติดต่อ:
0-2590-1361-4 โทรสารติดต่อ:  0-2591-8562
อีเมล์:
nattapol@health2.moph.go.th วันที่:  31 มี.ค.53
http://morpheus.moph.go.th/scholarship/

วันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2553

วันอังคารที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2553

DF case

ผู้ป่วยเด็กหญิง อายุ 8 ปี บ้านสะกาด อ สังขะ จ.สุรินทร์

อาการสำคัญ มาพบแพทย์ด้วย ไข้ 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล

ประวัติปัจจุบัน 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้สูง ไข้สูงลอยตลอด ซึม ทานได้น้อยลง
พบเจ้าหน้าที่สถานีอนามัย ได้ยาทาน อาการไม่ดีขึ้น
3 วัน ไข้สูง ซึม อาเจียน 1 ครั้ง มารดาพามาโรงพยาบาล

ประวัติอดีต แข็งแรงดี ไม่เคยแพ้ยา
ประวัติวัคซีนและพัฒนาการ ได้รับวัคซีนครบ พัฒนาการปกติ
อื่น ๆ คนข้างบ้านเป็นไข้เลือดออก 4 วันก่อน

การตรวจร่างกาย
  A girl sicked, flush face dry lip
  V/S:    BP 100/ 60 PR 96 RR 18 BT 38.8 C TT positive BW 30 kg
  Not pale no jaundice Cervical lymph node impalpabe
  Heart and lung : Normal S1 S2 ,no murmur
  Abdomen : soft  not tender active bowel sound Liver 2 FB below RCM
  Extremities No lesion , no pethichia or echymosis

ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
  CBC : Hct 38 wbc 4800 PMN 56 Lymphocyte 30 Monocyte 2 Atypical lymphocyte 2 platlet 130,000
  UA : Yellow clear spgr. 1.014 urine albumine trace sugar negative

Impressin : Viral infection
Admit
Day 1 ผู้ป่วยทานได้ 2-3 คำ ซึม ปัสสาวะเหลืองเข้ม
          V/S BP 120 / 70 PR 84 BT 38.0 RR 18
          การรักษา
          5 % DN/2 500 cc IV 30 cc/hr
          Para 325 1 tab oral prn for fever q 4-6 hr ,ORS จิบบ่อย ๆ ,
          V/S q 2 hr if BP < 90/60 PP < 20 notify
          Tapid spongue
          CBC at 16.00   notify
18.00 น ผู้ป่วยซึมลง ปัสสาวะเหลืองเข้ม BP 90/70 PR 108 Hct 46 wbc 2800 lymphocyte 28 atypical lymphocyte 6 Neutrophill 64 monocyte 2 platelet 90,000 urine ออก 100 cc/8 hr
      - 5 % DNSS 300 cc free flow then 300 cc/hr * 1 hr
      - Hct q 4 hr V/S q 1 hr I/O เป็น cc/hr
        BP 90/60 PR 98 full ลด Rate IV 210 cc/hr * 2 hrs then 150 cc/hr  * 2 hrs
20.00 น.BP 90/58 PR 84 full RR 18 BT 37.0 Hct 42
24.00 น BP 90/60 PR 78 full RR 18 BT 37.0 Hct 40 เริ่มคัน
      - ลด IV เหลือ 30 cc/hr
      - CPM 1*3 pc
      -  calamind lotion apply prn for icting
Day 2
     - ไข้ลง สดชื่น ทานได้ ปัสสาวะเหลืองใส
    ตรวจร่างกาย BT 37 BP 120/80 PR 74 full RR 18
    การรักษา off IV , v/s q 4 hr
    PLan D/C
Day 3
    อาการปกติ
    D/C
    Para 325 mg 1 tab oral prn for fever q 6 hr
    ors จิบบ่อย ๆ
    f/u 1 wks เพื่อดูอาการ  CBC ก่อนพบแพทย์
    วัน F/u อาการปกติ ผล CBC normal แนะนำ กลับบ้าน ให้ความรู็เรื่องไข้เลือดออกเพิ่มเติม
อภิปราย
    เด็กผู้หญิง 8 ปี มาด้วยไข้มา 3 วัน ลักษณะไข้ สูงลอย อาจต้องนึกถึงโรคดังต่อไปนี้ ได้แก่กลุ่ม viral infection ได้แก่ common cold , viral exanthem , Dengue fever ส่วน bacterial ที่ต้องหาเำพิ่มได้แก่ Otitis media Pharyngitis Bronchitis pneumonia Acute pyelonephritis ซึ่งจากประวัติและตรวจร่างกาย นึกถึง Dengue fever มากที่สุด เนื่องจาก ประวัติมีไข้สูง ลักษณะไข้สูงลอย ซึม ตรวจร่างกายมี flush face TT positve ทำให้นึกถึงไข้เลือดออกมากขึ้น
   ผลการตรวทางห้องปฏิบัติการ เข้าได้กับ viral infection มีปริมาณเม็ดเลือดขาวต่ำ ลิมโฟไชด์เด่น เกร็ดเลือดต่ำ เข้าได้กับไข้เลือดออก
  ได้แนะนำผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลเนื่องจากต้องเฝ้าระวังภาวะช็อค ซึ่งสามารถเกิดได้ในช่วงไข้ลง ซึ่งผู้ป่วยรายนี้่ มีภาวะช็อคช่วงเย็นหลังจากนอนโรงพยาบาลและให้การรักษาโดยให้สารน้ำและเฝ้าระวังตาม guildline และลดปริมาณสารน้ำเมื่ออาการดีขึ้น ผลการตรวจความเข้มข้นของเลือดลดลง จนอาการดีขึ้นและสามารถกลับบ้านได้ โดยปลอดภัย
    การรักษาผู้ป่วยหากวินิจฉัยถูกต้อง รักษาทันท่วงที และมีมาตรการในการป้องกันไข้เลือดออกทุกระดับ ก็ทำให้ป้องกันและการรักษาไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ


  

วันศุกร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2553

TB imaging c วิธีอ่าน film

รู้ได้ยังไงว่ามี infiltration

เมื่อไหรที่เห็น lung marking เส้นเลือด bronchus แสดงว่าตรงนั้นมีเนื้อปอดอยู่
เนื่องจากเนื้อปอดส่วนใหญ่เป็น air
vessel และ bronchus เป็น sof ttissue จึงสามารถเห็นได้
ถ้ามี infiltration ก็จะมองเห็นไม่ชัดเจน
ดู silhouette sign
- ขอบเขตหัวใจด้านขวาไม่ชัด=> สงสัย right middle lobe
- diaphragm ไม่ชัด => lower lobe
หา air alveologram เป็นจุดดำกระจายในinfiltration
(alveolar infiltration จึงเป็นสีขาวไม่สม่ำเสมอ)
หา air bronchogram => มีinfiltration
ในช่วง Early ของ pulmonary edema ให้ดูที่ Kerley's A หรือ B line หรือบางครั้ง
มาแรกๆอาจจะ normal ก็ยังได้
=> peribronchial cuffing
หรือจะดูตรง azygose vein มันจะโตขึ้น เส้นเลือดขอบเขตไม่ค่อยชัดเจน
- pulmonary edema มักมีรอยโรคเด่นใน medulla
แยกกับพวก idiopathic pulmonary fibrosis ทีมีlesion ในส่วน cortex
ชั้น cortex มีการไหลเวียนของน้ำเหลืองได้ดีกว่า medulla
จึงเห็นเป็นลักษณะของ Butterfly หรือ bat's wing ในระยะต่อมา
(อย่าลืม R/O MS ด้วย)

วิธีแยก alvelolar infiltration

1.Focal air space

เป็นหย่อมๆ ทีน่าจะเจอบ่อยๆก็พวก strep pneumo pneumonia , lung contusion
,aspirated pneumonia (basal segement lower lobe ในท่านั่ง และ
post.segement ใน upper lobe , sup. segement ใน lowe lobe ในท่านอน)

2.Multifocal
ก็พวก HAP หรือจาก hematogenous spreding septic emboli
หรือ CAP แบบ bronchopneumonia
หรือ atypical pneumonia

3. Diffuse
-ข้างเดียว acute => คิดถึง fluminant pneumonia , pulmonary hemorrhage , acute pulmonary edema (เจอได้บ้าง แต่น้อย)
chronic => CA
- สองข้าง
acute => pulmonary edema , ARDS , Drowning, pulmonary hemorrhage

*nterstitial infiltrationอันนี้ง่ายตรงนี้ มันไม่มีช่องทางติดต่อถึงกันเหมือน air space ให้จำ
- ขอบเขตจะชัดกว่า จะแต่ละจุดจะแยกออกจากกันได้ชัดกว่า

-reticulo / nodular lesion

-คล้าย kerley's line
-มักพบ peribronchial cuffing หรือ honeycomb
- เปลี่ยนแปลงช้า
โดยมากมักเป็นโรคทาง systemic และเจอ2ข้าง
1. Focal => TB เจอบ่อยมากกๆ
แต่ถ้าเป็น lower lobe มักเป็น bronchiectasis หรือ SLE ,scleroderma
2.Diffuse
-acute : atypical pneumonia
-chronic : bronchiectais , TB ,adenoCA

Combination of consolidation and cavitation in the right apex are consistent with active pulmonary tuberculosis.

CXR showed consolidation with cavitations in the right upper zone

This is a close-up view of her x-ray to show multiple cavitations (arrows). These findings are consistent with active pulmonary tuberculosis.
Both these radiographs showed pneumonic consolidation. In the first radiograph, the consolidation is at the right upper zone with its lower margin limited by the right horizontal fissure. The consolidation is fairly homogenous. In addition, the right costo-phrenic angle is blunted indicating small amount of effusion. This pneumonia is most likely bacterial in origin.


In the second radiograph, the consolidation is at the left upper zone. It is characterised by multiple cavitations. This pneumonia is most likely tuberculous in origin.

This foreign worker from Vietnam came for routine medical check up. He denied any symptoms. CXR showed a cavitating lesion in the left apex. A diagnosis of active pulmonary tuberculosis is made.

This 41 year old man came for routine medical check up. CXR showed a 4mm calcified granuloma at the right lower zone and multiple calcified foci in the right hilar region. The latter is presumably calcified nodes. He denied previous history of PTB or contact with PTB.

Note the patchy consolidation with multiple cavitations in the right upper zone. This is typical of active pulmonary tuberculosis.

Forward mail ดีดี

ค้นหาบล็อกนี้